Page 328 - สถานการณ์การละเมิดสิทธิแรงงานและบทเรียนหกปีของคณะอนุกรรมการสิทธิแรงงานในคณะกรรมการสิทธิมนุษยชนแห่งชาติ (กสม.)
P. 328

ภาค
       ผนวก

        ๒     กรณีตัวอย่างผลตอบรับตามมาตรการแก้ไขปัญหาและข้อเสนอแนะเชิงนโยบาย





                        มาตรการแก้ไขและข้อเสนอแนะ                        หน่วยงานที่ตอบ
               ลูกจ้างเชื่อว่าเป็นสิ่งศักดิ์สิทธิ์ทั้งหลาย  ที่ไม่ได้ทำจาก 	 ๒) ระเบียบข้อบังคับเกี่ยวกับการทำงานของ
               หรือมีส่วนผสมของโลหะ  และแก้ไขปัญหาการบังคับใช้ พนักงาน ที่ต้องไม่สวมใส่เครื่องประดับเข้า-ออก
               ระเบียบข้อบังคับเกี่ยวกับการทำงาน ข้อ ๔๐.๖.๔ ที่ผู้ถูก อาคารผลิต  จากคำร้องของประธานสหภาพ
               ร้องแปลความโดยคลาดเคลื่อน ต่อเหตุผลความเป็นจริง แรงงานอัลมอนด์ที่อ้างว่าบริษัทฯ  เลิกจ้าง
               และเจตนารมณ์ในการออกระเบียบดังกล่าว  ทั้งนี้  ให้ กรรมการสหภาพแรงงานและกรรมการลูกจ้าง
               ดำเนินการภายใน ๓๐ วัน นับแต่วันที่ได้รับรายงานนี้   อันเป็นการละเมิดกฎหมายคุ้มครองแรงงาน
                                                             และกฎหมายแรงงานสัมพันธ์นั้น  บริษัทฯ  ขอ
               ข้อเสนอแนะ
                                   เรียนชี้แจงว่า  ตามที่บริษัทฯ  ได้เคยชี้แจงให้
                 ๑. ให้สำนักงานตำรวจแห่งชาติ แจ้งหน่วยงานภายใน คณะอนุกรรมการสิทธิแรงงานทราบ  เมื่อวันที่
               สังกัด ให้ปฏิบัติตามหลักเกณฑ์ในเรื่องการตรวจโดยเครื่อง ๒๕  กรกฎาคม  ๒๕๔๙  ว่าโดยธุรกิจเครื่อง
               จับเท็จอย่างถูกต้องเคร่งครัด และกำชับเจ้าหน้าที่ตำรวจ ประดับและอัญมณีที่บริษัทฯ  ดำเนินการอยู่มี
               มิให้เกี่ยวข้องหรือตกเป็นเครื่องมือของสถานประกอบการ ความจำเป็นอย่างยิ่งที่ต้องมีระเบียบ ข้อบังคับ
               หรือนิติบุคคลในเรื่องใดๆ  ซึ่งอยู่นอกอำนาจหน้าที่ตาม เกี่ยวกับการทำงาน เรื่องพนักงานต้องไม่สวมใส่
               กฎหมาย  โดยใช้เรื่องนี้เป็นกรณีศึกษา  ตลอดจนให้ เครื่องประดับ  เข้า-ออก  อาคารผลิต  โดยมี
               เผยแพร่ข้อมูลข่าวสารและระเบียบปฏิบัติที่เกี่ยวข้องใน เจตนารมณ์เพื่อป้องกันการขโมยซุกซ่อนทองคำ
               เรื่องนี้ให้สาธารณชนได้รับทราบด้วย            เงิน โลหะมีค่าและอัญมณี ซึ่งบริษัทฯ ได้แจ้ง
                 ๒. หากพบว่าเจ้าหน้าที่ตำรวจยังเข้าไปมีส่วนเกี่ยวข้อง พร้อมติดประกาศให้พนักงานทราบ  และมี
               หรือสนับสนุนการดำเนินการของสถานประกอบการซึ่งมิใช่ พนักงานเพียง  ๔  คน  จากพนักงานประมาณ
               อำนาจหน้าที่ตามกฎหมายของตนดังกล่าว  สำนักงาน ๘๐๐  คน  ที่ฝ่าฝืน  และกระทำผิดซ้ำคำเตือน
               ตำรวจแห่งชาติควรดำเนินการทางวินัยและทางกฎหมาย โดยในกรณีของกรรมการลูกจ้างเรื่องอยู่ระหว่าง
               ต่อเจ้าหน้าที่ตำรวจนายนั้นโดยเคร่งครัด        การพิจารณาของศาล  ซึ่งต่อมาเมื่อวันที่  ๖
                                                             กันยายน ๒๕๔๙ ศาลแรงงานกลาง (มีนบุรี) ได้
                                                             พิพากษาคดีดังกล่าว  โดยมีคำสั่งอนุญาตให้
                                                             บริษัทฯ ลงโทษนายอาคม ทองดีวงษ์ และนาย
                                                             ประทุม  คำดีวัน  โดยอนุญาตให้เลิกจ้าง  ซึ่ง
                                                             บริษัทฯ  ก็ได้แจ้งให้ประธานอนุกรรมการสิทธิ
                                                             แรงงานทราบ  ตามหนังสือของบริษัทฯ ที่  AT
                                                             ๐๕๔/๐๖ ลงวันที่ ๑๙ กันยายน ๒๕๔๙ แล้ว
                                                             บริษัทฯ จึงขอเรียนชี้แจงว่าบริษัทฯ ได้ดำเนิน
                                                             การตามคำพิพากษาของศาล

















        ๓๒๘  สถานการณ์การละเมิดสิทธิแรงงาน





     Master 2 anu .indd   328                                                                     7/28/08   9:23:47 PM
   323   324   325   326   327   328   329   330   331   332   333