Page 329 - สถานการณ์การละเมิดสิทธิแรงงานและบทเรียนหกปีของคณะอนุกรรมการสิทธิแรงงานในคณะกรรมการสิทธิมนุษยชนแห่งชาติ (กสม.)
P. 329
มาตรการแก้ไขและข้อเสนอแนะ หน่วยงานที่ตอบ
รายงานผลการตรวจสอบที่ ๑๐๑/๕๐
สำนักเลขาธิการนายกรัฐมนตรี
ลงวันที่ ๑๘ พฤษภาคม ๒๕๕๐ หนังสือที่ นร ๐๔๑๐/๔๘๙๘
ผู้ร้อง นายสมศักดิ์ สุขยอด ประธานสหภาพฯ แรงงาน ลงวันที่ ๒๙ มิถุนายน ๒๕๕๐
ฟอร์ดและมาสด้าประเทศไทย
เรื่อง นายจ้างขัดขวางการยื่นข้อเรียกร้อง เพื่อเปลี่ยน สำนักเลขาธิการนายกรัฐมนตรีได้นำเรียนรอง
แปลงสภาพการจ้างของสหภาพฯ นายกรัฐมนตรี (นายไพบูลย์ วัฒนศิริธรรม) แล้ว
และได้ส่งเรื่องให้หน่วยงานที่เกี่ยวข้องพิจารณา
มาตรการแก้ไขปัญหา เสนอต่อกรมสวัสดิการฯ ดำเนินการต่อไป
(๑) ดำเนินการให้ผู้ถูกร้องตระหนักและเข้าใจหลักการของ
สหภาพแรงงานประเภทกิจการเดียวกัน และเร่งรัดแก้ไข ศาลากลางจังหวัดระยอง
ปัญหาแรงงานสัมพันธ์ ระหว่างผู้ร้องกับผู้ถูกร้องที่เกิด หนังสือที่ รย ๐๐๑๖.๓/๑๐๑๖๑
ความร้าวฉานให้กลับคืนสภาพปกติโดยเฉพาะลูกจ้างที่ ลงวันที่ ๙ สิงหาคม ๒๕๕๐
เป็นสมาชิกของผู้ถูกร้องที่ถูกอบรมทั้งหมด ได้กลับเข้า
ทำงานตามสภาพการจ้างเดิม ณ สถานประกอบการเดิม
นายอำเภอได้อนุญาตให้บริษัท ไทยซัมมิท อีส
ทั้งนี้ ให้ดำเนินการโดยเร่งด่วน และรายงานให้ กสม.ทราบ เทิร์น ซีบอร์ด โอโต้พาร์ท อินดัสตรี จำกัด ใช้
ห้องประชุมของที่ว่าการอำเภอปลวกแดง เพื่อ
(๒) ให้ปรับปรุงแนวปฏิบัติเพื่อส่งเสริมการแรงงาน ฝึกอบรมพนักงานของบริษัทฯ เนื่องจากเห็นว่า
สัมพันธ์ในประเทศไทย พ.ศ. ๒๕๔๘ ให้เป็นเครื่องมือทาง เป็นประโยชน์ ดังนี้
ด้านแรงงานสัมพันธ์ที่มีบทบาททั้งในเชิงป้องกัน แก้ไข ๑. ถ้าพนักงานไม่ได้รับความเป็นธรรมในเรื่อง
เยียวยา และส่งเสริมพัฒนา และสามารถแก้ไขปัญหาเชิง ใด ก็จะสามารถแจ้งให้นายอำเภอทราบได้
รุกหรือทันต่อสถานการณ์ได้ โดยการจัดประชุมเพื่อระดม ๒. เป็นการสร้างความคุ้นเคย ระหว่าง
ความคิดเห็นจากองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น องค์กรชุมชน พนักงานกับทางราชการ
องค์กรพัฒนาเอกชน องค์เอกชน กลุ่มสหภาพ แรงงานใน ๓. เป็นการสร้างความสมานฉันท์ ความไว้ใจ
เขตอุตสาหกรรมต่าง ๆ และสถาบันทางวิชาการ มีส่วน ให้เกิดขึ้นระหว่างบริษัทฯ พนักงาน และทาง
ร่วมในการพิจารณาด้วย ราชการ
ทั้งนี้ ให้ดำเนินการให้แล้วเสร็จภายใน ๙๐ วัน นับแต่วัน ๔. เป็นการเสริมสร้างรายได้ ให้แก่พ่อค้า
ที่ได้รับรายงานฉบับนี้ แม่ค้าในเขตอำเภอ
(๓) ให้จัดทำแผนปฏิบัติการด้านแรงงานสัมพันธ์ โดย ๕. หากทางราชการมีการใช้ห้องประชุม
การนำแนวปฏิบัติที่ปรับปรุงแก้ไขแล้วตาม ข้อ (๑) ไป บริษัทจะต้องงดใช้สถานที่ในวันดังกล่าว จาก
ปฏิบัติในฐานะที่เป็นเครื่องมือสำคัญในการส่งเสริมและ เหตุผลดังกล่าวเมื่อเกิดการขัดแย้งขึ้นในภาค
พัฒนาระบบแรงงานสัมพันธ์ ทั้งในส่วนสถานประกอบ อุตสาหกรรมที่อยู่ในเขตพื้นที่ของอำเภอ
กิจการที่ลูกจ้างเพิ่งมีการจัดตั้งสหภาพแรงงาน และในส่วน ปลวกแดง และภาคอุตสาหกรรมได้ขออนุญาต
ที่ยังเป็นปัญหาหรือมีแนวโน้มว่าจะเกิดปัญหาข้อขัดแย้งใน ใช้หอประชุม ซึ่งเป็นประโยชน์แก่พนักงานและ
ขอบเขตทั่วประเทศทั้งนี้ ให้ดำเนินการอย่างต่อเนื่องตลอด ภาคอุตสาหกรรม ไม่มีเหตุผลใดที่นายอำเภอ
แผนปฏิบัติการประจำปี ในทุกๆ ปี จะไม่อนุญาต คำร้องเรียนของผู้ร้องย่อมฟัง
ไม่ขึ้น
และบทเรียนหกปีของคณะอนุกรรมการสิทธิแรงงาน ๓๒๙
Master 2 anu .indd 329 7/28/08 9:23:48 PM