Page 324 - สถานการณ์การละเมิดสิทธิแรงงานและบทเรียนหกปีของคณะอนุกรรมการสิทธิแรงงานในคณะกรรมการสิทธิมนุษยชนแห่งชาติ (กสม.)
P. 324

ภาค
       ผนวก

        ๒     กรณีตัวอย่างผลตอบรับตามมาตรการแก้ไขปัญหาและข้อเสนอแนะเชิงนโยบาย





                        มาตรการแก้ไขและข้อเสนอแนะ                        หน่วยงานที่ตอบ
               	   ๒.๑  ให้เพิ่มองค์ประกอบของคณะกรรมการแรงงาน อยู่ระหว่างการสรุปความเห็นจากทุกส่วนที่
               สัมพันธ์  (ครส.)โดยให้มีผู้ทรงคุณวุฒิทางด้านแรงงาน เกี่ยวข้อง และจะนำความเห็นของคณะกรรมการ
               เศรษฐศาสตร์ กฎหมาย สังคมวิทยา  และสิทธิมนุษยชน สิทธิมนุษยชนแห่งชาติดังกล่าวรวมเสนอในร่าง
               เพื่อประสิทธิภาพในการวินิจฉัยชี้ขาดข้อกฎหมายและการ กฎหมายเพื่อดำเนินการต่อไป
               ส่งเสริมแรงงานสัมพันธ์  ในฐานะที่ครส.เป็นกระบวน
               ยุติธรรมทางด้านแรงงานชั้นต้นที่มีความสำคัญยิ่งต่อระบบ
               แรงงานสัมพันธ์ (มาตรา ๓๗)
                ๒.๒ ให้คำสั่งครส.เป็นที่สุด การฟ้องคดีเพื่อเพิกถอนคำสั่ง
               ของ  ครส.  ไม่เป็นเหตุทุเลาการปฏิบัติตามคำสั่งของ
               ครส.  หากมีการฝ่าฝืนคำสั่งของ  ครส.  ผู้เสียหายมีสิทธิ
               ดำเนินคดีอาญาได้ทันที (มาตรา ๑๒๕-๑๒๗)
                 ๒.๓  ให้เพิ่มอำนาจหน้าที่ของครส.  ในการกำหนด
               มาตรการต่างๆ  เพื่อแก้ไขปัญหาเชิงรุก  หรือเชิงป้องกัน
               หรือมาตรการฟื้นฟู หรือส่งเสริมแรงงานสัมพันธ์ภายหลัง
               ครส. มีคำสั่งแล้ว (มาตรา ๔๑)
                ๒.๔ กำหนดมาตรการคุ้มครองเรื่องการกระทำที่ไม่เป็น
               ธรรมให้ชัดเจน เป็นลำดับหรือขั้นตอน (มาตรา ๔๑) กล่าว
               คือ ในลำดับแรก การออกคำสั่งให้ผู้ละเมิดหรือผู้ถูกร้อง
               ดำเนินการให้ผู้ถูกละเมิดหรือลูกจ้างกลับคืนสถานภาพเดิม
               กล่าวคือ ให้กลับเข้าทำงานพร้อมทั้งชดใช้ค่าเสียหายใน
               ระหว่างเลิกจ้าง ให้ย้ายกลับหน่วยงานเดิมพร้อมทั้งชดใช้
               ค่าเสียหาย  เว้นแต่ผู้ถูกละเมิดไม่ประสงค์  ทั้งนี้ในกรณี
               ที่จำเป็นหรือมีเหตุให้แก้ไขเยียวยาด้านแรงงานสัมพันธ์
               ให้ครส.  กำหนดมาตรการเพื่อแก้ไขปัญหาภายหลังมี
               คำสั่งด้วย
               รายงานผลการตรวจสอบที่ ๙๐/๕๐                   กรมสวัสดิการและคุ้มครองแรงงาน
               ลงวันที่ ๔ พฤษภาคม ๒๕๕๐                       หนังสือที่ รง ๐๕๐๗/๐๐๖๑๙๙
               ผู้ร้อง   นายสนั่น ไชยการ                     วันที่ ๒ สิงหาคม ๒๕๕๐
               เรื่อง		 	บริษัท อีซูซุฯ ได้รับการลดส่วนอัตราเงินสมทบ
               ประกันสังคม กรณี ลูกจ้างประสบอันตรายหรือเจ็บป่วย     ๑.  ปัจจุบันกรมสวัสดิการฯ  และสำนัก
               
                                             งานประกันสังคมมีการแลกเปลี่ยนสถิติข้อมูล
               มาตรการแก้ไขปัญหา
                            หรือข้อมูลข่าวสารซึ่งกันและกันเพื่อเพิ่ม
                 ๑.  พิจารณาปรับปรุงประกาศคณะกรรมการประกัน ประสิทธิภาพในเชิงการบริหารและการปฏิบัติ
               สังคมเรื่อง  หลักเกณฑ์  วิธีการ  และเงื่อนไขการลดส่วน งานของเจ้าหน้าที่ในการคุ้มครองดูแลลูกจ้าง
               อัตราเงินสมทบเกี่ยวกับประโยชน์ทดแทนกรณีอันตราย ให้มีประสิทธิภาพมากยิ่งขึ้น
               หรือเจ็บป่วย  กรณีทุพพลภาพ  กรณีคลอดบุตร  และ
               กรณีตาย  พ.ศ.  ๒๕๓๔  ให้สอดคล้องกับเจตนารมณ์
               ของพระราชบัญญัติประกันสังคม พ.ศ. ๒๕๓๓ อย่างชัดเจน


        ๓๒๔  สถานการณ์การละเมิดสิทธิแรงงาน





     Master 2 anu .indd   324                                                                     7/28/08   9:23:45 PM
   319   320   321   322   323   324   325   326   327   328   329