Page 323 - สถานการณ์การละเมิดสิทธิแรงงานและบทเรียนหกปีของคณะอนุกรรมการสิทธิแรงงานในคณะกรรมการสิทธิมนุษยชนแห่งชาติ (กสม.)
P. 323

มาตรการแก้ไขและข้อเสนอแนะ                        หน่วยงานที่ตอบ
               	                                             สัมพันธ์ที่ดีระหว่างกัน  สำหรับมาตรการหรือ
                                                             แนวทางการส่งเสริมแรงงานสัมพันธ์ กรมฯ จะได้
                                                             นำไปหารือในคณะกรรมการส่งเสริมการ
                                                             แรงงานสัมพันธ์เพื่อหาแนวทางดำเนินการที่
                                                             เหมาะสมต่อไป

               รายงานผลการตรวจสอบที่ ๕๑/๔๙                   กรมสวัสดิการและคุ้มครองแรงงาน
               ลงวันที่ ๒๕ กันยายน ๒๕๔๙                      หนังสือที่ รง ๐๕๐๙/๐๐๐๖๕๕
               ผู้ร้อง   นายชวิศ เพ็ชรธนาภา                  ลงวันที่ ๒๖ มกราคม ๒๕๕๐
               เรื่อง    บริษัท  ลินฟ็อกซ์  ทรานสปอร์ต  (ประเทศไทย)
               จำกัด เขตคลองเตย กทม. เลิกจ้างขณะเจรจาข้อเรียกร้อง ๑. มาตรการที่ให้กรมสวัสดิการและคุ้มครอง
               เกี่ยวกับสภาพการจ้าง                          แรงงานดำเนินการให้ บริษัท ลินฟอกซ์ ฯ รับ
               
                                             นายชวิศฯ กลับเข้าทำงานในตำแหน่งหน้าที่
               มาตรการแก้ไขปัญหาต่อกรมสวัสดิการและคุ้มครองแรงงาน
 เดิมหรือมากกว่าเดิม  เห็นว่าคณะกรรมการ
                 ดำเนินการให้ผู้ถูกร้องรับผู้ร้องกลับเข้าทำงาน  ใน แรงงานสัมพันธ์มีอำนาจตาม ม. ๔๑ (๔) สั่ง
               ตำแหน่งหน้าที่เดิมหรือมากกว่าเดิม โดยให้คำนึงถึงความ อย่างใดอย่างหนึ่งก็ได้เมื่อพิจารณาว่าเป็นการ
               ก้าวหน้าในตำแหน่งหน้าที่ และสิทธิประโยชน์ต่างๆ ตามที่ กระทำอันไม่เป็นธรรม  ซึ่งกรณีของนายชวิศฯ
               ผู้ร้องควรได้รับ ระหว่างการพิจารณาของหน่วยงานต่าง ๆ เมื่อเห็นว่าไม่อาจอยู่ร่วมกันได้จึงให้รับค่า
               หรือของศาล  เช่น  เงินเดือน  สวัสดิการต่างๆ  เป็นต้น เสียหายแทนการรับกลับเข้าทำงาน หากคู่กรณี
               เสมือนหนึ่งว่าผู้ร้องได้ทำงานตามปกติในระหว่างนั้น ทั้งนี้ ฝ่ายใดไม่เห็นด้วยกับคำสั่งของคณะกรรมการ
               ภายใน ๖๐ วัน นับแต่วันที่ได้รับรายงานฉบับนี้   แรงงานสัมพันธ์ สามารถฟ้องเพิกถอนคำสั่งได้
               	 ข้อเสนอแนะเชิงนโยบายต่อกระทรวงแรงงาน        ณ  ศาลแรงงาน  กรมสวัสดิการฯ  ไม่มีอำนาจ
                 ๑.  จัดประชุมสัมมนาเชิงปฏิบัติการ  เพื่อยกระดับการ ตามกฎหมายในการบังคับให้บริษัท ลินฟอกซ์ ฯ
               บังคับใช้กฎหมายเกี่ยวกับแรงงานให้มีบทบาทคุ้มครอง รับนายชวิศ ฯ เข้าทำงานได้
               ลูกจ้างที่ใช้สิทธิและเสรีภาพในเรื่องการจัดตั้งองค์กร การ ๒.  ข้อเสนอแนะเชิงนโยบายต่อกระทรวง
               เจรจาต่อรองร่วม การใช้สิทธิเรียกร้องตามกฎหมาย ตลอด แรงงาน
               จนการร้องเรียนต่อหน่วยงานภาครัฐ หน่วยงานรัฐสภา   ๑)  การจัดประชุมสัมมนาเชิงปฏิบัติการ
               และหน่วยงานอิสระตามรัฐธรรมนูญ  เพื่อให้ลูกจ้างที่ใช้ เพื่อยกระดับการบังคับใช้กฎหมายให้มีบทบาท
               สิทธิดังกล่าวมีหลักประกันในเรื่องสิทธิการมีงานทำ ความ คุ้มครองลูกจ้างที่ใช้สิทธิและเสรีภาพตาม
               มั่นคงในการทำงาน ตลอดจนการได้รับสิทธิประโยชน์ที่เกิด กฎหมาย  กรมสวัสดิการและคุ้มครองแรงงาน
               จากการเรียกร้องต่อรอง มิใช่การไกล่เกลี่ยหรือการบังคับ มีการจัดอย่างต่อเนื่องและสม่ำเสมอทุกปี
               ใช้กฎหมายที่โน้มเอียงไปในทางให้ผู้ละเมิดชดใช้ค่าเสีย กระจายไปทั่วประเทศ
               หายแทนการรับลูกจ้างกลับเข้าทำงาน ซึ่งไม่สอดคล้องกับ   ๒) การปรับปรุงแก้ไขพ.ร.บ. แรงงานสัมพันธ์
               เจตนารมณ์ของรัฐธรรมนูญและพระราชบัญญัติแรงงาน  พ.ศ.  ๒๕๑๘  ในหมวดคณะกรรมการแรงงาน
               สัมพันธ์ พ.ศ. ๒๕๑๘                            สัมพันธ์และหมวดการกระทำอันไม่เป็นธรรม
               	 ๒.  ดำเนินการปรับปรุงแก้ไขพ.ร.บ.แรงงานสัมพันธ์  นั้น ขั้นตอนในเรื่องนี้กรมสวัสดิการและคุ้มครอง
               พ.ศ.๒๕๑๘ ในหมวด ๔ คณะกรรมการแรงงานสัมพันธ์  แรงงานมีร่างกฎหมายที่ผ่านการตรวจแก้ไขจาก
               มาตรา ๓๗ ถึงมาตรา ๔๔ และหมวด ๙ การกระทำอันไม่ คณะกรรมการกฤษฎีกาแล้วและได้นำไปดำเนิน
               เป็นธรรมมาตรา ๓๒๕ ถึงมาตรา ๓๒๗ โดยมีหลักการ ดังนี้  การจัดทำประชาพิจารณ์ทั่วประเทศ ซึ่งในขณะนี้

                                                                    และบทเรียนหกปีของคณะอนุกรรมการสิทธิแรงงาน ๓๒๓





     Master 2 anu .indd   323                                                                     7/28/08   9:23:45 PM
   318   319   320   321   322   323   324   325   326   327   328