Page 333 - สถานการณ์การละเมิดสิทธิแรงงานและบทเรียนหกปีของคณะอนุกรรมการสิทธิแรงงานในคณะกรรมการสิทธิมนุษยชนแห่งชาติ (กสม.)
P. 333
มาตรการแก้ไขและข้อเสนอแนะ หน่วยงานที่ตอบ
กฎหมายแก่แรงงานข้ามชาติ และเพื่อให้สอดคล้องกับ
รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย และข้อตกลงระหว่าง
ประเทศที่ประเทศไทยเป็นภาคี
๓) ดำเนินมาตรการเพื่อให้เกิดการประสานความร่วมมือ
ระหว่างหน่วยงานภาครัฐที่เกี่ยวข้องกับหน่วยงาน
ภาคเอกชน องค์กรพัฒนาเอกชนที่เกี่ยวข้อง และองค์กร
ด้านสิทธิมนุษยชน เพื่อประโยชน์ในการคุ้มครองสิทธิตาม
กฎหมายเกี่ยวกับแรงงาน และการจัดทำบันทึกความ
ร่วมมือในการคุ้มครองสิทธิแรงงานข้ามชาติระหว่าง
หน่วยงานต่างๆ ของรัฐ และภาคเอกชน
รายงานผลการตรวจสอบที่ ๘๖/๕๐ สภาอุตสาหกรรมแห่งประเทศไทย
ลงวันที่ ๔ พฤษภาคม ๒๕๕๐ หนังสือ ที่ ๓๑/๕๐๙๗/๒๕๕๐
ผู้ร้อง นายอ่อง ส่อโม (ชาวพม่า) อดีตพนักงานบริษัท ลงวันที่ ๑ สิงหาคม ๒๕๕๐
นำเจริญ นิตติ้ง จำกัด อ.แม่สอด จ.ตาก การดำเนินการของสภาอุตสาหกรรมจังหวัด
เรื่อง ขอความเป็นธรรมกรณีถูกนายจ้างขึ้นบัญชีดำ และ ตากมีวัตถุประสงค์เพื่อต้องการแจ้งข้อมูลข่าวสาร
ทำให้ไม่สามารถไปสมัครงานที่อื่นได้ ให้สมาชิกได้รับทราบถึงสภาพปัญหาการจ้างงาน
ข้อเสนอแนะต่อสภาอุตสาหกรรมแห่งประเทศไทย แรงงานต่างด้าวหลบหนีเข้าเมืองในปัจจุบัน ที่
๑. จากการตรวจสอบกรณีร้องเรียนเกี่ยวกับการละเมิดสิทธิ อาจส่งผลกระทบต่อการบริหารแรงงานของสถาน
แรงงานข้ามชาติ พบว่าสาเหตุที่ลูกจ้างก่อเหตุประท้วง ประกอบการ เพื่อให้สมาชิกแนวทางป้องกัน มิได้
นายจ้างหรือนัดหยุดงานโดยผิดขั้นตอนของกฎหมาย มีเจตนาที่จะละเมิดสิทธิมนุษยชนของแรงงาน
แรงงานสัมพันธ์นั้น เกิดจากการที่ลูกจ้างถูกปฏิบัติโดย ต่างชาติแต่อย่างใด เป็นเพียงการคุ้มครองดูแล
ไม่เป็นธรรม ทำงานหนักแต่ไม่ได้รับสิทธิตามกฎหมาย สิทธิประโยชน์ของสมาชิกเท่านั้น และได้ดำเนิน
ขาดการสื่อสารที่ดีและความไม่รู้กฎหมายของลูกจ้าง การตามข้อเสนอแนะของ กสม. ดังนี้
ประกอบกับนายจ้างก็ขาดวิธีการในการแก้ไขปัญหาที่เหมาะ ๑. สั่งการให้สภาอุตสาหกรรมจังหวัดตาก
สม ดังนั้น สภาอุตสาหกรรมฯควรทำความเข้าใจเกี่ยวกับ แจ้งไปยังสมาชิกสภาอุตสาหกรรมจังหวัดตาก
สถานการณ์ปัญหากับผู้ประกอบการที่ใช้แรงงานข้ามชาติ ให้ เพื่อชี้แจงและทำความเข้าใจ โดยให้ตระหนักถึง
ยอมรับและส่งเสริมให้ลูกจ้างมีตัวแทนหรือมีการจัดตั้งคณะ ความสำคัญในการปฏิบัติต่อลูกจ้างต่างชาติตาม
กรรมการหรือองค์กรตามกฎหมาย เพื่อประโยชน์ในการ กฎหมายแรงงาน รวมถึงเพิ่มความระมัดระวังใน
ปรึกษาหารือ แก้ไขปัญหา และมีมาตรการเชิงป้องกันปัญหา การกระทำใดๆ ต่อลูกจ้างที่อาจเข้าข่ายใน
โดยเฉพาะอย่างยิ่งความจำเป็นในเรื่องล่าม เพื่อประโยชน์ใน ลักษณะหมิ่นเหม่ต่อการละเมิดสิทธิมนุษยชนโดย
การสื่อสาร ทั้งนี้ ควรดำเนินการให้แล้วเสร็จภายใน ๖ เดือน ไม่เจตนา
นับแต่วันที่ได้รับรายงานฉบับนี้ ๒.นำเรื่องดังกล่าวชี้แจงให้คณะกรรมการสภา
๒. สภาอุตสาหกรรมฯควรทำหนังสือชี้แจงนายจ้างและผู้ อุตสาหกรรมแห่งประเทศไทย ซึ่งเป็นผู้แทนของ
ประกอบการต่างๆ ทั้งที่เป็นสมาชิกและมิได้เป็นสมาชิกเกี่ยว สมาชิกผู้ประกอบการทั่วประเทศ ได้รับทราบ
กับกรณีร้องเรียนนี้ เพื่อป้องกันมิให้มีการกระทำที่หมิ่นเหม่ต่อ เกี่ยวกับกรณีเรื่องร้องเรียนการละเมิดสิทธิต่อ
การละเมิดสิทธิมนุษยชนอีก ทั้งนี้ ควรดำเนินการให้แล้วเสร็จ แรงงานต่างชาติ รวมถึงให้ข้อมูลความรู้เกี่ยวกับ
ภายใน ๖๐ วัน นับแต่วันที่ได้รับรายงานฉบับนี้ แนวทางการปฏิบัติที่ถูกต้อง
และบทเรียนหกปีของคณะอนุกรรมการสิทธิแรงงาน ๓๓๓
Master 2 anu .indd 333 7/28/08 9:23:50 PM