Page 325 - สถานการณ์การละเมิดสิทธิแรงงานและบทเรียนหกปีของคณะอนุกรรมการสิทธิแรงงานในคณะกรรมการสิทธิมนุษยชนแห่งชาติ (กสม.)
P. 325
มาตรการแก้ไขและข้อเสนอแนะ หน่วยงานที่ตอบ
กล่าวคือ การจะได้รับยกเว้นไม่ต้องจ่ายเงินสมทบกรณีใด ๒. กรมสวัสดิการฯ ได้มีการแลกเปลี่ยนเจ้า
ต้องเป็นสวัสดิการที่นายจ้างจัดให้ลูกจ้าง โดยมีอัตรา หน้าที่เข้าอบรม เพื่อให้ผู้เข้ารับการอบรมได้
สูงกว่าประโยชน์ทดแทนทุกกรณี ทั้งการบริการทางการ แลกเปลี่ยนความรู้ ความเข้าใจในขั้นตอน
แพทย์ ค่ารักษาพยาบาล และเงินทดแทนการขาดรายได้ วิธีการ กฎหมาย ประกาศ ระเบียบ ระบบ
โดยนายจ้างต้องไม่มีเงื่อนไขที่เป็นภาระต่อการได้รับ สารสนเทศ แนวปฏิบัติที่เกี่ยวข้อง และปัญหา
ประโยชน์ทดแทนของลูกจ้าง ทั้งนี้ ให้ดำเนินการภายใน อุปสรรคในการปฏิบัติงาน พร้อมทั้งหาแนว
๓๐ วัน นับแต่วันที่ได้รับรายงานฉบับนี้ ทางแก้ไข และมีการแลกเปลี่ยนวิทยากรช่วย
๒. ขอให้ดำเนินการตรวจสอบระเบียบข้อบังคับของ บรรยายในหลักสูตรที่เกี่ยวข้อง เพื่อให้มี
สถานประกอบการทุกแห่ง ที่ได้รับการลดส่วนอัตราเงิน ประสิทธิภาพ ประสิทธิผลและเสริมสมรรถนะ
สมทบมาแล้วว่า มีหลักเกณฑ์ที่สอดคล้องกับเจตนารมณ์ ของบุคลากรให้มีความเข้าใจตรงกัน อันจะ
ของกฎหมายประกันสังคมหรือไม่ และกรณีที่ไม่สอดคล้อง ส่งผลถึงลูกจ้างให้ได้รับสิทธิตามกฎหมาย
ให้สำนักงานประกันสังคมออกคำสั่งยกเลิกการลดส่วน ถูกต้องครบถ้วน
อัตราเงินสมทบในประโยชน์ทดแทนนั้น ทั้งนี้ ให้ดำเนินการ ๓. กรมสวัสดิการฯ จักได้กำชับพนักงาน
ภายใน ๓๐ วัน นับแต่วันที่ได้รับรายงานฉบับนี้ ตรวจแรงงาน เมื่อตรวจข้อบังคับเกี่ยวกับการ
๓. ให้สำนักงานประกันสังคม นายจ้าง และองค์กรลูกจ้าง ทำงานหรือตรวจสถานประกอบกิจการ หาก
ของสถานประกอบการ เช่น คณะกรรมการสวัสดิการใน พบว่าสถานประกอบกิจการใดได้รับการลดส่วน
สถานประกอบการ สหภาพแรงงาน คณะกรรมการลูกจ้าง อัตราเงินสมทบเกี่ยวกับประโยชน์ทดแทน
เป็นต้น ร่วมกันพิจารณาในเรื่องการลดส่วนอัตราเงิน พนักงานตรวจแรงงานจะดูแลให้ความเป็นธรรม
สมทบในประโยชน์ทดแทนกรณีใด โดยคำนึงถึงสภาพ แก่ลูกจ้าง
ความเป็นจริง
สำนักงานประกันสังคม
-
ข้อเสนอแนะเชิงนโยบายต่อกระทรวงแรงงาน
๑. สร้างกลไกการทำงานแบบบูรณาการ ระหว่าง
กรมสวัสดิการฯ และสำนักงานประกันสังคม เพื่อให้เกิด
กระบวนการทำงานที่มีประสิทธิภาพและประสิทธิผลในการ
พัฒนาคุณภาพชีวิตและการสร้างหลักประกันทางสังคมที่
สมบูรณ์ให้แก่ลูกจ้าง
๒. ให้กระทรวงแรงงานกำหนดนโยบายและมาตรการ
จูงใจที่ชัดเจน เพื่อส่งเสริมให้สถานประกอบการต่างๆ เข้า
ร่วมโครงการประกันสังคม โดยไม่ขอลดส่วนอัตราเงิน
สมทบ หรือกำหนดหลักเกณฑ์ที่เข้มงวดและเป็นธรรมใน
การพิจารณาลดส่วนอัตราเงินสมทบ เพื่อเป็นการสร้าง
หลักประกันทางสังคมแก่ลูกจ้างอย่างกว้างขวาง
และบทเรียนหกปีของคณะอนุกรรมการสิทธิแรงงาน ๓๒๕
Master 2 anu .indd 325 7/28/08 9:23:46 PM