Page 322 - สถานการณ์การละเมิดสิทธิแรงงานและบทเรียนหกปีของคณะอนุกรรมการสิทธิแรงงานในคณะกรรมการสิทธิมนุษยชนแห่งชาติ (กสม.)
P. 322

ภาค
       ผนวก

        ๒     กรณีตัวอย่างผลตอบรับตามมาตรการแก้ไขปัญหาและข้อเสนอแนะเชิงนโยบาย





                        มาตรการแก้ไขและข้อเสนอแนะ                        หน่วยงานที่ตอบ
               บ้านของตนเองแต่งานไม่แน่นอนและค่าจ้างต่ำ บางคนไป
               สมัครงานที่ไม่เกี่ยวกับงานเดิม  และได้รับค่าจ้างเท่ากับ
               อัตราค่าจ้างขั้นต่ำ ระหว่างตกงานต้องพึ่งพารายได้จากสามี
               และหลายคนมีหนี้สินเพิ่มพูน หลายคนต้องอุปการะบิดา
               มารดาและญาติ ทำให้ครอบครัวเดือดร้อนเป็นอันมาก
                 กรณีนี้มีผลกระทบอย่างสำคัญต่อการก่อตั้งสหภาพ
               แรงงาน  ทั้งนี้สถานประกอบการจำนวนไม่น้อยไม่เข้าใจ
               บทบาทของสหภาพแรงงาน และพยายามดำเนินการทุกวิถี
               ทางที่จะหาทางสกัดกั้น ด้วยการหาเหตุต่อลูกจ้างที่เป็นผู้
               ริเริ่มก่อตั้งสหภาพฯ ซึ่งลูกจ้างจะเสียเปรียบ เพราะต้องใช้
               เวลายาวนาน จนลูกจ้างจำนวนมากต้องยอมรับค่าชดเชย
               และออกจากงานไป อันจะมีผลให้ลูกจ้างส่วนใหญ่ไม่มั่นใจ
               ต่อการริเริ่มจัดตั้งสหภาพแรงงาน หรือการดำเนินการใดๆ
               ของสหภาพแรงงาน

               รายงานผลการตรวจสอบที่ ๙๖/๔๙                   กรมสวัสดิการและคุ้มครองแรงงาน
               ลงวันที่ ๓๐ พฤศจิกายน ๒๕๔๙                    หนังสือที่ รง ๐๕๐๙/๐๐๑๘๒๕
               ผู้ร้อง   น.ส.ชลธิชา คำมันตรี                 วันที่ ๗ มีนาคม ๒๕๕๐
                        สหภาพแรงงานอาริยะสัมพันธ์
               เรื่อง   การละเมิดสิทธิแรงงาน                 	 กสร.  ได้รายงานผลการดำเนินการตาม
                       ของบริษัทอาริยะการทอ จำกัด            มาตรการการแก้ไข
               	 	                                             ๑. การปรับปรุงแก้ไข พ.ร.บ. แรงงานสัมพันธ์
               
 มาตรการแก้ไขต่อกรมสวัสดิการและคุ้มครองแรงงาน
 พ.ศ. ๒๕๑๘ ในส่วนที่เกี่ยวกับข้อตกลงเกี่ยวกับ
               	 ๑. ให้พิจารณาปรับปรุงแก้ไขพ.ร.บ.แรงงานสัมพันธ์ สภาพการจ้าง การแจ้งข้อเรียกร้อง การเจรจาต่อ
               พ.ศ.  ๒๕๑๘  ที่เกี่ยวกับการเจรจาต่อรอง  การลงลาย รอง โดยการเพิ่มอำนาจให้พนักงานประนอมข้อ
               มือชื่อในข้อตกลงฯ และการจดทะเบียนข้อตกลงฯ โดยให้ พิพาทแรงงานฯลฯ กสร. จะได้นำข้อเสนอแจ้งให้
               จัดทำร่างการปรับปรุงไขกฎหมายดังกล่าวให้เสร็จ ภายใน คณะทำงานทบทวนร่วม พ.ร.บ. แรงงานสัมพันธ์
               ๖ เดือน                                       พ.ศ. .... เพื่อดำเนินการต่อไป
                 ๒. พิจารณาปรับปรุงแก้ไขพ.ร.บ.  แรงงานสัมพันธ์   ๒. กรณีการยื่นข้อเรียกร้องและนายจ้างใช้สิทธิ
               พ.ศ.  ๒๕๑๘  หมวด  ๙  เรื่องการกระทำอันไม่เป็นธรรม ตอบโต้ลูกจ้างฯ โดยการยื่นข้อเรียกร้องสวนทาง
               โดยให้จัดทำร่างการปรับปรุงแก้ไขปัญหาดังกล่าวให้ เป็นสิทธิที่นายจ้างสามารถดำเนินการได้ภายใต้
               แล้วเสร็จ ภายใน ๖ เดือน                       พ.ร.บ. แรงงานสัมพันธ์ พ.ศ. ๒๕๑๘ แต่อย่างไร
                 ๓. ในกรณีที่ลูกจ้างหรือสหภาพแรงงานได้ยื่นข้อเรียกร้อง ก็ตาม  แนวทางในการลดปัญหาความขัดแย้ง
               ต่อนายจ้าง และนายจ้างได้ยื่นข้อเรียกร้องสวนทาง  มัก ด้านแรงงานดังกล่าว กรมฯ ได้จัดทำแนวปฏิบัติ
               เป็นกรณีนายจ้างใช้สิทธิตอบโต้ลูกจ้างหรือสหภาพ เพื่อส่งเสริมการแรงงาน สัมพันธ์ในประเทศไทย
               แรงงาน  จึงควรมีมาตรการต่าง  ๆ  เพื่อส่งเสริมแรงงาน พ.ศ. ๒๕๔๘ ซี่งเป็นการเห็นชอบร่วมกันของทั้ง
               สัมพันธ์                                      ๓ ฝ่าย เพื่อใช้เป็นเครื่องมือและใช้เป็นแนวทาง
                                                             ปฏิบัติต่อกัน เพื่อให้เกิดความเป็นธรรมบนพื้น
                                                             ฐานของความ


        ๓๒๒  สถานการณ์การละเมิดสิทธิแรงงาน





     Master 2 anu .indd   322                                                                     7/28/08   9:23:44 PM
   317   318   319   320   321   322   323   324   325   326   327