Page 319 - สถานการณ์การละเมิดสิทธิแรงงานและบทเรียนหกปีของคณะอนุกรรมการสิทธิแรงงานในคณะกรรมการสิทธิมนุษยชนแห่งชาติ (กสม.)
P. 319
มาตรการแก้ไขและข้อเสนอแนะ หน่วยงานที่ตอบ
สมาคม และเจรจาต่อรองร่วม และคุ้มครองสิทธิในการรวม การปกครองและประเพณีนิยมของประเทศ ซึ่ง
ตัวกัน เพื่อเป็นการแสดงจุดยืน และความพร้อมของ จะต้องมีการแก้ไขปรับปรุงเปลี่ยนแปลง
ประเทศไทยในเวทีต่างประเทศ กฎหมาย กฎระเบียบที่เกี่ยวข้อง ให้สามารถ
๕. ให้กรมสวัสดิการและคุ้มครองแรงงาน กำหนด รองรับการให้สัตยาบันอนุสัญญาได้ รวมทั้ง
มาตรการเกี่ยวกับการตรวจสุขภาพ ความปลอดภัย ต้องมีการเตรียมการ การทำประชาพิจารณ์ซึ่ง
และอาชีวอนามัยในการทำงาน โดยมีหลักการสำคัญ คือ ต้องใช้เวลาอย่างน้อย ๓-๕ ปี
การประสานงานระหว่างกรมฯ กับหน่วยงานภาครัฐต่างๆ ๕. การตรวจแรงงานในสถานประกอบการ
และเปิดโอกาสให้องค์กรลูกจ้างทั้งในส่วนสหภาพแรงงาน กสร. จะได้มีการประสานองค์กรลูกจ้าง ทั้งใน
หรือสหพันธ์แรงงาน มีส่วนร่วมในการตรวจด้วย ส่วนสหภาพแรงงาน คณะกรรมการลูกจ้าง
คณะกรรมการสวัสดิการหรือคณะกรรมการ
ความปลอดภัย อาชีวอนามัยฯในการทำงาน
ของแต่ละสถานประกอบการ ร่วมตรวจด้วย
หากต้องการ
รายงานผลการตรวจสอบที่ ๔๙/๔๙ กระทรวงแรงงาน
ลงวันที่ ๒๕ กันยายน ๒๕๔๙
หนังสือที่ รง ๐๕๐๙/๓๑๖๕
ผู้ร้อง คุณศิริวรรณ สุขพิศาล และพวกรวม ๙ คน วันที่ ๑๖ ธันวาคม ๒๕๔๙
เรื่อง พนักงานบริษัท เอ็มเคเอส จิวเวลรี่
อินเตอร์เนชั่นแนล จำกัด ได้มอบหมายให้กรมสวัสดิการและคุ้มครอง
เขตประเวศ กทม. ถูกเลิกจ้างโดยไม่เป็นธรรม แรงงานนำข้อสังเกตไปพิจารณาดำเนินการ
หาวิธีการ หรือมาตรการต่างๆ เพื่อสื่อสาร
กสม.เห็นว่า การที่ผู้ถูกร้องตรวจค้นร่างกายของลูกจ้าง ทำความเข้าใจกับลูกจ้าง โดยการบังคับใช้
เป็นการกระทำที่เกินกว่าเหตุ และกระทบต่อสิทธิและ กฎหมายให้คำนึงถึงมูลเหตุแห่งปัญหาหรือ
เสรีภาพของลูกจ้างในวงกว้างอันเป็นการละเมิดสิทธิ ข้อขัดแย้งประกอบข้อเท็จจริงด้วย และหา
มนุษยชน และยังได้เลิกจ้างผู้ร้องโดยไม่เป็นธรรมอีกด้วย มาตรการป้องกันวิธีการสกัดกั้นการก่อตั้ง
แม้ต่อมาจะตกลงกันได้ แต่เป็นกรณีอันสำคัญยิ่งเกี่ยวกับ สหภาพแรงงาน โดยจะได้ดำเนินการส่งเสริม
สิทธิเสรีภาพของบุคคลและการแรงงานสัมพันธ์ ที่ทั้ง การแรงงานสัมพันธ์เพื่อทำให้ระบบแรงงาน
หน่วยงานราชการ ผู้ประกอบการ และสหภาพแรงงาน สัมพันธ์เป็นกลไกหรือแนวทาง ที่สามารถนำไป
ควรได้ศึกษา ซึ่งกสม.มีข้อสังเกต ดังนี้ ใช้จัดการความขัดแย้งให้ได้อย่างมีประสิทธิภาพ
การตรวจค้นลูกจ้าง ต่อไป
กสม.เห็นใจผู้ประกอบการ หากข้อเท็จจริงปรากฏว่า
ทรัพย์สินสูญหายเป็นประจำ และลูกจ้างมีส่วนเกี่ยวข้อง
จำเป็นที่จะต้องทำการตรวจสอบหรือตรวจค้นลูกจ้าง แต่
วิธีการหรือมาตรการที่นำมาใช้จะต้องไม่เป็นการกระทำที่
เกินกว่าเหตุ หรือล่วงเกินสิทธิเสรีภาพของบุคคล ดังใน
กรณีนี้ เพราะละเมิดศักดิ์ศรีความเป็นมนุษย์และสิทธิใน
เกียรติยศชื่อเสียง ตามรัฐธรรมนูญ พ.ศ.๒๕๔๐ มาตรา ๔
และมาตรา ๓๔
และบทเรียนหกปีของคณะอนุกรรมการสิทธิแรงงาน ๓๑๙
Master 2 anu .indd 319 7/28/08 9:23:42 PM