Page 318 - สถานการณ์การละเมิดสิทธิแรงงานและบทเรียนหกปีของคณะอนุกรรมการสิทธิแรงงานในคณะกรรมการสิทธิมนุษยชนแห่งชาติ (กสม.)
P. 318

ภาค
       ผนวก

        ๒     กรณีตัวอย่างผลตอบรับตามมาตรการแก้ไขปัญหาและข้อเสนอแนะเชิงนโยบาย





                        มาตรการแก้ไขและข้อเสนอแนะ                        หน่วยงานที่ตอบ
               ข้อเสนอแนะเชิงนโยบายต่อสำนักงานตำรวจแห่งชาติ
                 ๑.  ดำเนินการเพื่อยกระดับความรับรู้ของเจ้าพนักงาน
               ตำรวจในการคุ้มครองสิทธิมนุษยชนของประชาชน
                 ๒.  เข้มงวดกวดขันในทางบริหารและทางวินัย  เพื่อ
               ป้องกันมิให้เจ้าพนักงานตำรวจเข้าไปเกี่ยวข้องหรือมีส่วน
               ได้เสียกับบริษัทเอกชนโดยไม่สุจริต
                 ๓. ประสานงานกับหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง ให้มีมาตรการที่
               เข้มงวดในการตรวจสารเสพติดของบริษัทเอกชน  หรือ
               สถานประกอบการต่าง  ๆ  โดยให้มีเจ้าพนักงานตำรวจ
               และหน่วยงานอื่น  ๆ  เช่น  เจ้าหน้าที่สาธารณสุข  หรือ
               อาสาสมัครที่จัดตั้งโดยกฎหมาย เป็นต้น เข้าร่วมในการ
               ตรวจด้วย  เพื่อให้ผู้รับการตรวจได้แสดงเจตนาให้ความ
               ยินยอมโดยสมัครใจ

               รายงานผลการตรวจสอบที่ ๙๕/๔๙                   กรมสวัสดิการและคุ้มครองแรงงาน (กสร.)
               ลงวันที่ ๓๐ พฤศจิกายน ๒๕๔๙
                   หนังสือที่ รง ๐๕๐๗/๐๐๒๖๑๘
               ผู้ร้อง น.ส.ประทุม พุ่มเผือก ประธานสหภาพแรงงานเทร็นด์ส	 วันที่ ๒๘ มี.ค. ๒๕๕๐
               เรื่อง คนงานและสมาชิกสหภาพฯ ถูกเลิกจ้างโดยไม่เป็นธรรม
               
                                              กสร. ได้รายงานผลการดำเนินการดังนี้
                 ข้อเสนอแนะเชิงนโยบาย ต่อกระทรวงแรงงาน         ๑.  การดำเนินการจัดการสัมมนา/อบรม
                 ๑. ขอให้ถือเป็นพันธกิจของกระทรวงแรงงานที่จะนำหลัก ของ  กสร.  เพื่อเพิ่มพูนความรู้ให้เจ้าหน้าที่
               การและแนวคิดด้านสิทธิมนุษยชนมากำหนดนโยบายและ นายจ้างและลูกจ้าง จะมีการสอดแทรกการให้
               ดำเนินงานตามแผนงานในทุกระดับ  รวมทั้งการพัฒนา ความรู้ความเข้าใจในเรื่องนโยบายด้านสิทธิ
               บุคลากรให้มีความรู้ความเข้าใจในหลักการสิทธิมนุษยชน มนุษยชนด้วย
               ขั้นพื้นฐาน                                     ๒.  กสร.  ได้ยกร่างพ.ร.บ.แรงงานสัมพันธ์
                 ๒.  ขอให้กำหนดเป็นนโยบายเร่งด่วนในการคุ้มครอง พ.ศ. เพื่อใช้บังคับแทน พ.ร.บ.แรงงานสัมพันธ์
               ลูกจ้าง  หรือองค์กรของลูกจ้างในการใช้มาตรการจรรยา พ.ศ. ๒๕๑๘ การกระทำอันไม่เป็นธรรมมาตรา
               บรรณทางการค้า เพื่อแก้ไขข้อขัดแย้งทางด้านแรงงาน และ ๑๔๘  (๑)  ถึง  (๗)  ฯลฯ  ขณะนี้อยู่ในระหว่าง
               เร่งรัดให้กรมสวัสดิการและคุ้มครองแรงงาน ปรับปรุงแก้ไข การพิจารณาของคณะทำงาน ทบทวนในรูปของ
               กฎหมายเกี่ยวกับแรงงานหรือมาตรการทางแรงงานสัมพันธ์  ไตรภาคีที่มีผู้แทนองค์การนายจ้าง  องค์การ
               เพื่อให้มีการคุ้มครองลูกจ้างในการใช้มาตรการดังกล่าวให้มี ลูกจ้าง ภาครัฐ
               ผลอย่างแท้จริง                                  ๓. การประชาสัมพันธ์และเผยแพร่มาตรฐาน
                 ๓. เผยแพร่หลักการ แนวคิด  ในเรื่องสิทธิเสรีภาพของ แรงงานไทย  ๘๐๐๑-๒๕๔๖  จะสอดแทรก
               ลูกจ้างในการรวมตัวและการเจรจาต่อรองร่วม  การใช้ หลักการแนวคิด  เช่น  เรื่องสิทธิเสรีภาพของ
               มาตรฐานแรงงานไทย ๘๐๐๑ หรือมาตรการจรรยาบรรณ ลูกจ้างในการรวมตัวและการเจรจาต่อรอง
               ทางการค้า  เพื่อคุ้มครองสิทธิมนุษยชนด้านแรงงาน  ให้ ร่วมการใช้แรงงานเด็ก การไม่เลือกปฏิบัติ
               สังคมได้รับทราบอย่างต่อเนื่อง                 	 ๔. การรับรองอนุสัญญาฉบับที่ ๘๗ และฉบับ
               	 ๔.  เร่งให้สัตยาบันอนุสัญญาองค์การแรงงานระหว่าง ที่ ๙๘ ได้มีการศึกษาวิจัยเมื่อปี ๒๕๔๖ สรุป
               ประเทศ ฉบับที่ ๘๗ และฉบับที่ ๙๘ ว่าด้วยเสรีภาพในการ  ได้ว่ามีผลกระทบต่อเศรษฐกิจ สังคม การเมือง

        ๓๑๘  สถานการณ์การละเมิดสิทธิแรงงาน





     Master 2 anu .indd   318                                                                     7/28/08   9:23:41 PM
   313   314   315   316   317   318   319   320   321   322   323