Page 316 - สถานการณ์การละเมิดสิทธิแรงงานและบทเรียนหกปีของคณะอนุกรรมการสิทธิแรงงานในคณะกรรมการสิทธิมนุษยชนแห่งชาติ (กสม.)
P. 316
๕. รัฐบาลต้องแก้ไขปรับปรุงพระราชบัญญัติคนเข้าเมือง พ.ศ. ๒๕๒๒ ให้มีบทบัญญัติที่ชัดเจน
และมีผลในทางปฏิบัติเกี่ยวกับการคุ้มครองชั่วคราวแก่แรงงานข้ามชาติที่ถูกละเมิดสิทธิตามกฎหมายแม้จะ
เข้าเมืองโดยมิชอบด้วยกฎหมายของไทยก็ตาม
๖. รัฐบาลควรมีนโยบายส่งเสริมทุกภาคส่วนในสังคมได้เข้าใจแนวคิดด้านสิทธิมนุษยชน ที่
มองว่าแรงงานข้ามชาติ ก็เป็นบุคคล มีคุณค่าและศักดิ์ศรีความเป็นมนุษย์ และได้รับการคุ้มครองโดยเท่าเทียม
๗. รัฐบาลไทยควรมีข้อเสนอต่อสมาคมประชาชาติแห่งเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ (ASEAN) ให้มี
กลไกด้านการคุ้มครองและส่งเสริมสิทธิมนุษยชนของแรงงานข้ามชาติ และนำแนวคิดด้านสิทธิมนุษยชน
เพื่อการพัฒนา (Human Rights-Based Approach to Development ) มาใช้เป็นนโยบายสำหรับแรงงานข้ามชาติ
๘. รัฐบาลไทยควรเข้าเป็นภาคีอนุสัญญาว่าด้วยการคุ้มครองสิทธิแรงงานย้ายถิ่นและ
ครอบครัวของสหประชาชาติ ค.ศ. ๑๙๙๐ (พ.ศ.๒๕๓๓)
มติของคณะกรรมการสิทธิมนุษยชนแห่งชาติ
คณะกรรมการสิทธิมนุษยชนแห่งชาติได้พิจารณาในการประชุมครั้งที่ ๓๘ /๒๕๕๐ เมื่อวันที่ ๒๐
ธันวาคม ๒๕๕๐ มีมติเห็นชอบกับความเห็นและมติของคณะอนุกรรมการสิทธิแรงงาน
(นายเสนห จามริก)
ประธานกรรมการสิทธิมนุษยชนแหงชาติ
ประธานกรรมการสิทธิมนุษยชนแหงชาติ
(นาสาวนัยนา สุภาพึ่ง) (นายประดิษฐ เจริญไทยทวี)
กรรมการสิทธิมนุษยชนแหงชาติ กรรมการสิทธิมนุษยชนแหงชาติ
กรรมการสิทธิมนุษยชนแหงชาติ
(นายวสันต พานิช) (นางสุนี ไชยรส)
กรรมการสิทธิมนุษยชนแหงชาติ กรรมการสิทธิมนุษยชนแหงชาติ
กรรมการสิทธิมนุษยชนแหงชาติ
(นายสุทิน นพเกตุ) (นายสุรสีห โกศลนาวิน)
กรรมการสิทธิมนุษยชนแหงชาติ กรรมการสิทธิมนุษยชนแหงชาติ กรรมการสิทธิมนุษยชนแหงชาติ
(คุณหญิงอัมพร มีศุข) (นางสาวอาภร วงษสังข)
กรรมการสิทธิมนุษยชนแหงชาติ กรรมการสิทธิมนุษยชนแหงชาติ
สำนักงานคณะกรรมการสิทธิมนุษยชนแห่งชาติ วันที่ ๗ กุมภาพันธ์ ๒๕๕๑
๓๑๖ สถานการณ์การละเมิดสิทธิแรงงาน
Master 2 anu .indd 316 7/28/08 9:23:40 PM