Page 291 - สถานการณ์การละเมิดสิทธิแรงงานและบทเรียนหกปีของคณะอนุกรรมการสิทธิแรงงานในคณะกรรมการสิทธิมนุษยชนแห่งชาติ (กสม.)
P. 291
คณะอนุกรรมการสิทธิแรงงาน จึงมีมติให้กำหนดมาตรการแก้ไขปัญหาการละเมิดสิทธิมนุษยชน และ
มีข้อเสนอแนะเชิงนโยบาย ดังนี้
มาตรการในการแก้ไขปัญหา
ให้กระทรวงคมนาคมตรวจสอบความต้องการที่แท้จริงของผู้ร้องและพนักงานที่เกี่ยวข้อง และดำเนิน
การให้เป็นไปตามเจตนารมณ์ของพนักงานแต่ละคนที่ได้ยื่นใบสมัครเข้าร่วมโครงการร่วมใจจากฯ ภายใน ๔๕
วัน นับแต่วันที่ได้รับรายงานฉบับนี้
ข้อเสนอแนะเชิงนโยบาย
๑. หากมติคณะรัฐมนตรี มีผลต่อการเปลี่ยนแปลงสภาพของรัฐวิสาหกิจ จะต้องคำนึงถึงผลกระทบที่
เกิดขึ้นกับพนักงานของรัฐวิสาหกิจนั้น และต้องมีมติในเรื่องดังกล่าวให้ชัดเจนด้วย
๒. ในกรณีที่จะมีการแปลงสภาพรัฐวิสาหกิจ ซึ่งมีผลกระทบต่อสิทธิและความมั่นคงในการทำงานของ
พนักงาน จะต้องมีการแจ้งข้อมูลที่ครบถ้วนถูกต้อง มีหลักเกณฑ์ที่โปร่งใสเป็นธรรม ใช้หลักธรรมาภิบาล และ
ต้องให้พนักงานมีส่วนร่วมในการตัดสินใจตั้งแต่เริ่มกระบวนการจนสิ้นสุด ตลอดจนต้องคำนึงถึงหลักประกัน
เรื่องสิทธิและประโยชน์ของพนักงานเป็นสำคัญ
มติของคณะกรรมการสิทธิมนุษยชนแห่งชาติ
คณะกรรมการสิทธิมนุษยชนแห่งชาติได้พิจารณาเรื่องนี้ในการประชุมครั้งที่ ๕/๒๕๕๐ เมื่อวันที่ ๑๕
กุมภาพันธ์ ๒๕๕๐ แล้ว มีมติเห็นชอบด้วยกับความเห็นของคณะอน
กุมภาพันธ์ ๒๕๕๐ แล้ว มีมติเห็นชอบด้วยกับความเห็นของคณะอนุกรรมการสิทธิแรงงาน ุกรรมการสิทธิแรงงาน
(นายเสนห จามริก)
ประธานกรรมการสิทธิมนุษยชนแหงชาติ
ประธานกรรมการสิทธิมนุษยชนแหงชาติ
(นาสาวนัยนา สุภาพึ่ง) (นายประดิษฐ เจริญไทยทวี)
กรรมการสิทธิมนุษยชนแหงชาติ กรรมการสิทธิมนุษยชนแหงชาติ
กรรมการสิทธิมนุษยชนแหงชาติ
(นายวสันต พานิช) (นางสุนี ไชยรส)
กรรมการสิทธิมนุษยชนแหงชาติ
กรรมการสิทธิมนุษยชนแหงชาติ กรรมการสิทธิมนุษยชนแหงชาติ
(นายสุทิน นพเกตุ) (นายสุรสีห โกศลนาวิน)
กรรมการสิทธิมนุษยชนแหงชาติ กรรมการสิทธิมนุษยชนแหงชาติ กรรมการสิทธิมนุษยชนแหงชาติ
(คุณหญิงอัมพร มีศุข) (นางสาวอาภร วงษสังข)
กรรมการสิทธิมนุษยชนแหงชาติ กรรมการสิทธิมนุษยชนแหงชาติ
สำนักงานคณะกรรมการสิทธิมนุษยชนแห่งชาติ วันที่ ๒๘ กุมภาพันธ์ ๒๕๕๐
และบทเรียนหกปีของคณะอนุกรรมการสิทธิแรงงาน ๒๙๑
Master 2 anu .indd 291 7/28/08 9:23:27 PM