Page 226 - สถานการณ์การละเมิดสิทธิแรงงานและบทเรียนหกปีของคณะอนุกรรมการสิทธิแรงงานในคณะกรรมการสิทธิมนุษยชนแห่งชาติ (กสม.)
P. 226
๙ ๙
บทที่
บทที่
ประเด็น รัฐธรรมนูญ ๒๕๔๐ รัฐธรรมนูญ ๒๕๕๐
๑. ที่มาของ ประธานศาลฎีกา ประธานศาล กรรมการสรรหา ๗ คน คือ ประธานศาลรัฐธรรมนูญ
คณะกรรมการ ปกครองสูงสุด อัยการสูงสุด ประธานศาลฎีกา ประธานศาลปกครองสูงสุด ประธาน
สรรหา นายกสภาทนายความ ผู้แทน สภาผู้แทนราษฎร ผู้นำฝ่ายค้านในสภาผู้แทนราษฎร
สถาบันอุดมศึกษาแห่งละ ๑ บุคคลซึ่งที่ประชุมใหญ่ศาลฎีกาเลือก ๑ คนจากบุคคล
คน ซึ่งเลือกกันเองให้เหลือ ๕ ภายนอกศาลฎีกา และบุคคลซึ่งที่ประชุมใหญ่ตุลาการ
คน ผู้แทนองค์การเอกชนด้าน ศาลปกครองสูงสุดเลือกจากบุคคลภายนอก ๑ คน
สิทธิมนุษยชนซึ่งเลือกกันเองให้
เหลือ ๑๐ คน ผู้แทนพรรค
การเมืองทุกพรรคที่มีส.ส.
พรรคละ ๑ คนเลือกกันเอง
ให้เหลือ ๕ คน ผู้แทนสื่อ
มวลชนในกิจการหนังสือพิมพ์
วิทยุกระจายเสียง และวิทยุ
โทรทัศน์ ซึ่งเลือกกันเองกิจการ
ละหนึ่งคนรวมเป็น ๓ คน
๒. การคัดเลือก วุฒิสภา ๒๐๐ คนจากการ วุฒิสภามี ๑๕๐ คน จากการเลือกตั้งจังหวัดละ ๑ คน
โดย วุฒิสภา
เลือกตั้งของประชาชนทุก รวม ๗๖ คน และจากการสรรหาอีก ๗๔ คน โดยมีคณะ
จังหวัดทั่วประเทศ กรรมการสรรหาสมาชิกวุฒิสภา ๗ คน ประกอบด้วย
โดยคณะกรรมการสรรหา ประธานศาลรัฐธรรมนูญ ประธานกรรมการการเลือกตั้ง
ต้องเสนอจำนวน ๒๒ คน ให้ ประธานผู้ตรวจการแผ่นดิน ประธานกรรมการป้องกันและ
วุฒิสภาเลือก กสม. เหลือ ปราบปรามการทุจริตแห่งชาติ ประธานกรรมการตรวจเงิน
๑๑ คน แผ่นดิน ผู้พิพากษาในศาลฎีกาที่ที่ประชุมใหญ่ศาลฎีกา
มอบหมาย ๑ คน และตุลาการศาลปกครองสูงสุดที่ ที่
ประชุมใหญ่ตุลาการศาลปกครองสูงสุดมอบหมาย ๑ คน
• คณะกรรมการสรรหาเสนอรายชื่อ กสม. ต่อวุฒิสภา
เพียง ๗ คนเท่านั้น
ถ้าวุฒิสภาไม่เห็นชอบแต่คณะกรรมการสรรหายืนยัน
ไปอีกครั้ง ถือว่าเป็นรายชื่อ กสม. ที่ครบตามขั้นตอนแล้ว
(เช่นเดียวกับการเลือกองค์กรอิสระทั้งหมดตาม
รัฐธรรมนูญ ๒๕๕๐)
๓.สถานะองค์กร องค์กรอิสระ (ตามมาตรา ๗๕) องค์กรอื่นตามรัฐธรรมนูญ
กสม.
ประเด็นที่มาขององค์กรอิสระต่างๆ ตามรัฐธรรมนูญ ๒๕๕๐ จึงถูกวิพากษ์วิจารณ์อย่างกว้างขวาง
และท้าทายต่อการแก้ไขต่อไป
๒๒๖ สถานการณ์การละเมิดสิทธิแรงงาน
Master 2 anu .indd 226 7/28/08 9:21:06 PM