Page 219 - สถานการณ์การละเมิดสิทธิแรงงานและบทเรียนหกปีของคณะอนุกรรมการสิทธิแรงงานในคณะกรรมการสิทธิมนุษยชนแห่งชาติ (กสม.)
P. 219
บทเรียนการทำงานของคณะอนุกรรมการสิทธิแรงงาน
และคณะกรรมการสิทธิมนุษยชนแห่งชาติ (กสม.)
กระทรวงแรงงานสมัยนายสุวัจน์ ลิปตพัลลภ เป็นรัฐมนตรีให้ตั้ง
คณะทำงานจากทุกฝ่ายรวมทั้งผู้แทนจากคณะอนุกรรมการ
สิทธิแรงงาน เพื่อการจัดทำบันทึกข้อตกลงร่วมกันระหว่าง
หน่วยงานของรัฐที่เกี่ยวข้องกับแรงงานข้ามชาติ เพื่อทำให้
ผู้ที่ถูกละเมิดได้รับการคุ้มครองให้สามารถพักอยู่ในประเทศไทย
เพื่อใช้สิทธิตามกฎหมายได้จนกว่าคดีจะเสร็จสิ้น
จากบทเรียนการตรวจสอบ พบการละเมิดซ้ำซาก
เกือบทุกกรณีของแรงงานขามชาติ มีชองโหวของกฎหมายแรงงานและกฎหมายวาดวย
คนเขาเมือง เมื่อแรงงานขามชาติถูกเอาเปรียบและรองเรียนตอหนวยงานของรัฐ จะถูกเลิกจาง
ตกอยูในฐานะคนเขาเมืองผิดกฎหมาย และตองถูกสงตัวกลับประเทศตนทาง โดยเฉพาะ
แรงงานชาวพมา แมตอมาจะมีระเบียบใหสามารถหานายจางใหมไดภายใน ๗ วัน แตก็ยังมี
ขอจำกัดนานัปการ จนในที่สุดกฎหมายคุมครองแรงงานของไทยที่คุมครองแรงงานขามชาติดวย
กลับไมสามารถมีผลบังคับใชอยางมีประสิทธิภาพ ประกอบกับนโยบายต่อแรงงานข้ามชาติที่ยังมี
ปัญหาหลายประการ ประเทศไทยจึงมีความขัดแย้งอย่างสูงเรื่องทัศนคติต่อแรงงานข้ามชาติ และเปิดช่อง
ให้มีการเอาเปรียบแรงงานข้ามชาติและพัฒนาเป็นขบวนการการค้ามนุษย์
กรณีนี้มีการประชุมคณะทำงานระดับกระทรวงดังกล่าวเพียงครั้งเดียว และเมื่อเปลี่ยนรัฐมนตรี
ไปอีกหลายคน เรื่องนี้ก็หยุดนิ่งจนถึงปัจจุบัน แม้คณะอนุกรรมการจะผลักดันอย่างต่อเนื่องก็ตาม
และบทเรียนหกปีของคณะอนุกรรมการสิทธิแรงงาน ๒๑๙
Master 2 anu .indd 219 7/28/08 9:20:35 PM