Page 42 - ประมวลความเห็นทางกฎหมาย ระหว่างวันที่ 1 มิถุนายน 2559 ถึงวันที่ 15 สิงหาคม 2560
P. 42

๔๐



               ลักษณะตองหามมิใหเขามาในราชอาณาจักรตามมาตรา 12 ใหพนักงานมีอํานาจสั่งใหคนตางดาว
               กลับออกไปนอกราชอาณาจักรได แตสําหรับกรณีคนตางดาวที่มีลักษณะตามมาตรา 12 (1) กลับถูกหาม

               มิใหอุทธรณคําสั่งดังกลาว เทากับวากฎหมายตัดโอกาสในการใชสิทธิโตแยงชี้แจงเหตุผลของการเขามา
               ในราชอาณาจักรของคนตางดาวที่ไมมีเอกสารแสดงตน และคนตางดาวเหลานี้ก็จะถูกผลักดันออกนอก
               ราชอาณาจักรไปตามอํานาจแหงกฎหมายวาดวยคนเขาเมือง แตประเด็นที่นากังวลก็คือวา หากเปนกรณี
               ของคนตางดาวที่เดินทางเขามาในราชอาณาจักรดวยเหตุผลพิเศษเฉพาะ อันเนื่องมาจากสถานการณ
               ภายในประเทศที่มีการประหัตประหาร ภัยจากการสูรบหรือสงคราม หรือมีความจําเปนอยางอื่นที่ไมสามารถ

               อาศัยอยูในประเทศตนทางได และพนักงานเจาหนาที่ของรัฐไดปฏิบัติตอบุคคลเหลานี้ดวยการผลักดัน
               ออกไปนอกราชอาณาจักรตามอํานาจและหนาที่ที่กฎหมายใหไว ยอมจะสงผลกระทบกระเทือนตอ
               สิทธิมนุษยชนของคนตางดาวเหลานี้ได

                                2.1.๕ พระราชบัญญัติคนเขาเมือง พ.ศ. 2522 มาตรา 54 กําหนดใหอํานาจ
                                                                                    36
               พนักงานเจาหนาที่ที่จะสงคนตางดาวที่เขามาหรืออยูในราชอาณาจักรโดยไมไดรับอนุญาตหรือการอนุญาต

               สิ้นสุดหรือถูกเพิกถอนแลวออกไปนอกราชอาณาจักรได อันเปนการใหอํานาจดุลพินิจแกพนักงาน
               เจาหนาที่ ซึ่งอาจมีการใชอํานาจดําเนินการที่ไมเปนไปตามพันธกรณีระหวางประเทศหรือหลักการ
               สิทธิมนุษยชน เชน หลักการหามผลักดันผูลี้ภัยกลับไปเผชิญภัยการประหัตประหาร (non – refoulement)

               ก็เปนได

                                2.1.๖ การที่ประเทศไทยไมมีกฎหมายวาดวยผูลี้ภัยใชบังคับโดยเฉพาะ หรือการที่
               กฎหมายที่มีอยูไมไดใหความคุมครองครอบคลุมถึงกรณีผูลี้ภัย ผูพลัดถิ่น ผูอพยพ หรือผูโยกยายถิ่นฐาน
               จึงอาจนําไปสูการละเมิดสิทธิมนุษยชนของบุคคลเหลานี้ได







                             การอุทธรณ ใหยื่นตอพนักงานเจาหนาที่ภายในสี่สิบแปดชั่วโมงนับแตเวลาที่ไดทราบคําสั่งของพนักงานเจาหนาที่ และ
               ใหทําตามแบบและเสียคาธรรมเนียมตามที่กําหนดในกฎกระทรวง
                             เมื่อคนตางดาวยื่นอุทธรณแลว ใหพนักงานเจาหนาที่รอการสงตัวคนตางดาวผูนั้นออกไปนอกราชอาณาจักรไวจนกวา
               จะไดมีคําสั่งของรัฐมนตรีในกรณีนั้น
                             ในระหวางดําเนินการตามคําสั่งของพนักงานเจาหนาที่ หรือระหวางรอฟงคําสั่งของรัฐมนตรี แลวแตกรณี ใหนํามาตรา
               ๑๙ วรรคหนึ่งมาใชบังคับโดยอนุโลม แตมิใหนํามาตรา ๒๐ มาใชบังคับดวย


                             36  พระราชบัญญัติคนเขาเมือง พ.ศ. 2522
                             มาตรา ๕๔ คนตางดาวผูใดเขามาหรืออยูในราชอาณาจักรโดยไมไดรับอนุญาตหรือการอนุญาตนั้นสิ้นสุดหรือถูกเพิก
               ถอนแลว พนักงานเจาหนาที่จะสงตัวคนตางดาวผูนั้นกลับออกไปนอกราชอาณาจักรก็ได
                             ถามีกรณีตองสอบสวนเพื่อสงตัวกลับตามวรรคหนึ่ง ใหนํามาตรา ๑๙ และมาตรา ๒๐ มาใชบังคับโดยอนุโลม
                             ในกรณีที่มีคําสั่งใหสงตัวคนตางดาวกลับออกไปนอกราชอาณาจักรแลว ในระหวางรอการสงกลับ พนักงานเจาหนาที่มี
               อํานาจอนุญาตใหไปพักอาศัยอยู ณ ที่ใด โดยคนตางดาวผูนั้นตองมาพบพนักงานเจาหนาที่ตามวัน เวลา และสถานที่ที่กําหนด โดยตองมี
               ประกัน หรือมีทั้งประกันและหลักประกันก็ได หรือพนักงานเจาหนาที่จะกักตัวคนตางดาวผูนั้นไว ณ สถานที่ใดเปนเวลานานเทาใดตาม
               ความจําเปนก็ได คาใชจายในการกักตัวนี้ใหคนตางดาวผูนั้นเปนผูเสีย
                             บทบัญญัติในมาตรานี้มิใหใชบังคับแกคนตางดาวซึ่งเขามาอยูในราชอาณาจักรกอนวันที่พระราชบัญญัติคนเขาเมือง
               พุทธศักราช ๒๔๘๐ ใชบังคับ
   37   38   39   40   41   42   43   44   45   46   47