Page 36 - ประมวลความเห็นทางกฎหมาย ระหว่างวันที่ 1 มิถุนายน 2559 ถึงวันที่ 15 สิงหาคม 2560
P. 36

๓๔



               การถวงดุลและสามารถที่จะตรวจสอบได ประเด็นนี้เห็นควรที่จะมีการกําหนดลักษณะความผิดใหมี
               ความชัดเจน เพื่องายตอการตีความและบังคับใชของผูที่ใชอํานาจดวย

                              คําวา ขัดความสงบเรียบรอยหรือศีลธรรมอันดีของประชาชน: (public order or good
                                                 28
               morals) และคําวา ความสงบเรียบรอย (public order) เปนศัพททางวิชาการ หมายถึง ภาวะความ
               เปนอยูของประชาชนที่อยูรวมกันในสังคม โดยมีความปลอดภัยในชีวิต รางกาย และทรัพยสิน และในการ
               ดําเนินชีวิตโดยปกติสุข สวนคําวา ศีลธรรมอันดีของประชาชน (public morals) หมายถึง มาตรฐานทาง
               ศีลธรรมและจริยธรรมซึ่งนิยมกันอยูในสังคมหนึ่ง ๆ ไมวาจะโดยความนับถือเชนจารีตประเพณีทั่ว ๆ ไป

               เรียกวาเปน "แรงกดดันจากสังคม" (social pressure) หรือโดยการบังคับใชผานกฎหมายหรือผูมีอํานาจ
               หนาที่ตามกฎหมาย เรียก "แรงกดดันจากบานเมือง" (legal pressure) ทั้งนี้ เพื่อเปนปทัสถานหรือแนวที่
               สมาชิกในสังคมพึงปฏิบัติตอสังคมนั้นๆ ซึ่งกรอบแหงศีลธรรมอันดีของประชาชนนั้นสามารถเปลี่ยนแปลง
               ไดในแตยุคแตละสมัย การบัญญัติวา “ความสงบเรียบรอยหรือศีลธรรมอันดีของประชาชน” ไวใน
               พระราชบัญญัติ วาดวยการกระทําความผิดเกี่ยวกับคอมพิวเตอร (ฉบับที่ ๒) พ.ศ. ๒๕๖๐ จึงอาจมีปญหา

               การตีความตัวบทกฎหมายได

                              ๒.๕ รางประกาศของกระทรวงดิจิทัลเพื่อเศรษฐกิจและสังคมที่ออกภายใต
               พระราชบัญญัติวาดวยการกระทําความผิดเกี่ยวกับคอมพิวเตอร (ฉบับที่ ๒) พ.ศ. ๒๕๖๐

                              สําหรับรางประกาศกระทรวงดิจิทัลเพื่อเศรษฐกิจและสังคมที่ออกภายใตพระราชบัญญัติ
               วาดวยการกระทําความผิดเกี่ยวกับคอมพิวเตอร (ฉบับที่ ๒) พ.ศ. ๒๕๖๐ จํานวน ๕ เรื่อง ไดแก

                              ๑) เรื่อง ลักษณะและวิธีการสง และลักษณะและปริมาณของขอมูลความถี่และวิธีการสง
               ซึ่งไมเปนการกอใหเกิดความเดือดรอนรําคาญแกผูรับ พ.ศ. ....

                              ๒) เรื่อง ขั้นตอนการแจงเตือน การระงับการทําใหแพรหลายของขอมูลคอมพิวเตอร
               และการนําขอมูลคอมพิวเตอรออกจากระบบคอมพิวเตอร พ.ศ. ....

                              ๓) เรื่อง หลักเกณฑระยะเวลา และวิธีการปฏิบัติสําหรับการระงับการทําใหแพรหลาย
               หรือลบขอมูลคอมพิวเตอรของพนักงานเจาหนาที่หรือผูใหบริการ พ.ศ. ....

                              ๔) เรื่อง แตงตั้งคณะกรรมการเปรียบเทียบ ตามพระราชบัญญัติวาดวยการกระทํา

               ความผิดเกี่ยวกับคอมพิวเตอร พ.ศ. ๒๕๕๐ พ.ศ. ....

                              ๕) และเรื่องแตงตั้งคณะกรรมการกลั่นกรองขอมูลคอมพิวเตอร ตามพระราชบัญญัติวาดวย
               การกระทําความผิดเกี่ยวกับคอมพิวเตอร พ.ศ. ๒๕๕๐ พ.ศ. ....ที่อยูระหวางการยกรางของกระทรวงดิจิทัล
               เพื่อเศรษฐกิจและสังคม







                             28  ราชบัณฑิตยสถาน. (๒๕๔๓). พจนานุกรมศัพทกฎหมายไทยฉบับราชบัณฑิตยสถาน. (พิมพครั้งที่ ๒). กรุงเทพฯ :
               อรุณการพิมพ. หนา ๑๐๖.
   31   32   33   34   35   36   37   38   39   40   41