Page 34 - ประมวลความเห็นทางกฎหมาย ระหว่างวันที่ 1 มิถุนายน 2559 ถึงวันที่ 15 สิงหาคม 2560
P. 34

๓๒



               คอมพิวเตอร พ.ศ. ๒๕๕๐ และแกไขเพิ่มเติมอํานาจหนาที่อํานาจของพนักงานเจาหนาที่ใหเหมาะสม
               จึงจําเปนตองมีการแกไข

                             ๒.๒ เกี่ยวกับบทบัญญัติในพระราชบัญญัติ วาดวยการกระทําความผิดเกี่ยวกับ
               คอมพิวเตอร (ฉบับที่ ๒) พ.ศ. ๒๕๖๐


                             คณะกรรมการสิทธิมนุษยชนแหงชาติเคยมีรายงานผลการพิจารณาที่ ๑๖๐/๒๕๕๙
               ลงวันที่ ๒๕ ตุลาคม ๒๕๕๙ เรื่องรางพระราชบัญญัติวาดวยการกระทําผิดเกี่ยวกับคอมพิวเตอร (ฉบับที่...)
               พ.ศ. เสนอตอรัฐสภาและคณะรัฐมนตรี ดังมีสาระสําคัญสรุปไดดังนี้

                                ๒.๒.๑ ควรพิจารณาแกไขพระราชบัญญัติวาดวยการกระทําความผิดเกี่ยวกับ
               คอมพิวเตอร (ฉบับที่ ๒) พ.ศ. ๒๕๖๐ มาตรา ๘ แกไขเพิ่มเติมพระราชบัญญัติ วาดวยการกระทําความผิด

               เกี่ยวกับคอมพิวเตอร พ.ศ. ๒๕๕๐ มาตรา ๑๔ (๑) เปน ผูใดโดยทุจริตนําเขาสูระบบคอมพิวเตอรซึ่ง
               ขอมูลคอมพิวเตอรอันเปนเท็จ ทําใหไดไปซึ่งทรัพยสินหรือขอมูลสวนบุคคลของผูอื่น หรือทําใหผูอื่น
               ทํา ถอน หรือทําลายทรัพยสิน เพื่อใหชัดเจนและควรเปลี่ยนคําวา “ซึ่งขอมูลคอมพิวเตอรอันเปนเท็จ”
               เปน “ขอมูลคอมพิวเตอรปลอม”

                                ๒.๒.๒ ควรพิจารณาแกไขพระราชบัญญัติวาดวยการกระทําความผิดเกี่ยวกับ

               คอมพิวเตอร (ฉบับที่ ๒) พ.ศ. ๒๕๖๐ มาตรา ๘ แกไขเพิ่มเติมพระราชบัญญัติ วาดวยการกระทําความผิด
               เกี่ยวกับคอมพิวเตอร พ.ศ. ๒๕๕๐ มาตรา ๑๔ (๒) โดยกําหนดขอบเขตเงื่อนไขการใชอํานาจภายใต
               “ความมั่นคงของประเทศ” “ความปลอดภัยสาธารณะ” “ความมั่นคงทางเศรษฐกิจ” “โครงสรางพื้นฐาน
               อันเปนประโยชนสาธารณะของประเทศ” “ความตื่นตระหนกแกประชาชน”ที่จําเปนและไมกระทบสิทธิ

               และเสรีภาพของบุคคลเกินสมควร
                                ๒.๒.๓ ควรพิจารณาแกไขพระราชบัญญัติวาดวยการกระทําความผิดเกี่ยวกับ
               คอมพิวเตอร (ฉบับที่ ๒) พ.ศ. ๒๕๖๐ มาตรา ๑๔ แกไขเพิ่มเติมพระราชบัญญัติ วาดวยการกระทํา
               ความผิดเกี่ยวกับคอมพิวเตอร พ.ศ. ๒๕๕๐ มาตรา ๒๐ วรรคหนึ่ง (๓) และวรรคสอง คําวา “ความสงบ

               เรียบรอยหรือศีลธรรมอันดีของประชาชน” ควรกําหนดหลักเกณฑเงื่อนไข การใชอํานาจระงับการเผยแพร
               หรือการลบเนื้อหาขอมูลในระบบคอมพิวเตอรใหชัดเจนเปนลายลักษณอักษร
                              ๒.๒.๔ ควรพิจารณาแกไของคประกอบของคณะกรรมการกลั่นกรองขอมูลคอมพิวเตอร
               ซึ่งพระราชบัญญัติวาดวยการกระทําความผิดเกี่ยวกับคอมพิวเตอร (ฉบับที่ ๒) พ.ศ. ๒๕๖๐ มาตรา ๑๔

               แกไขเพิ่มเติมพระราชบัญญัติ วาดวยการกระทําความผิดเกี่ยวกับคอมพิวเตอร พ.ศ. ๒๕๕๐ มาตรา ๒๐
               วรรคสาม ไดแกไของคประกอบโดยใหมีกรรมการจากผูแทนภาคเอกชนดานสิทธิมนุษยชน ดานเทคโนโลยี
               สารสนเทศ ตามขอเสนอแนะของ กสม.แลว

                             ๒.๓ การใชบทบัญญัติในพระราชบัญญัติวาดวยการกระทําความผิดเกี่ยวกับ
               คอมพิวเตอร (ฉบับที่ ๒) พ.ศ. ๒๕๖๐ เพื่อประกอบการพิจารณาความผิดฐานหมิ่นประมาท
               ตามประมวลกฎหมายอาญา

                             พระราชบัญญัติวาดวยการกระทําความผิดเกี่ยวกับคอมพิวเตอร (ฉบับที่ ๒) พ.ศ. ๒๕๖๐
               มาตรา ๘ แกไขเพิ่มเติมพระราชบัญญัติวาดวยการกระทําความผิดเกี่ยวกับคอมพิวเตอร พ.ศ. ๒๕๕๐
   29   30   31   32   33   34   35   36   37   38   39