Page 33 - ประมวลความเห็นทางกฎหมาย ระหว่างวันที่ 1 มิถุนายน 2559 ถึงวันที่ 15 สิงหาคม 2560
P. 33

๓๑



                                                     บันทึกความเห็นทางกฎหมาย
                           ตอพระราชบัญญัติวาดวยการกระทําความผิดเกี่ยวกับคอมพิวเตอร (ฉบับที่ ๒) พ.ศ. ๒๕๖๐





                       ๑. ความเปนมา

                                     พระราชบัญญัติวาดวยการกระทําความผิดเกี่ยวกับคอมพิวเตอร (ฉบับที่ ๒) พ.ศ. ๒๕๖๐
                       ไดผานความเห็นชอบของสภานิติบัญญัติแหงชาติ ในคราวประชุมครั้งที่ ๘๑/๒๕๕๙ เมื่อวันที่ ๑๖ ธันวาคม

                                                   27
                       ๒๕๕๙ เปน ๑ ในกฎหมาย ๖ ฉบับ ที่โครงการพัฒนากฎหมายเทคโนโลยีสารสนเทศ กระทรวงวิทยาศาสตร
                       และเทคโนโลยีสิ่งแวดลอมเปนผูริเริ่ม กฎหมายฉบับนี้มีความเกี่ยวของกับรางพระราชบัญญัติดิจิทัล
                       และรางประกาศกระทรวงดิจิทัลเพื่อเศรษฐกิจและสังคมอีกดวย จึงเห็นควรศึกษาและแสดงความเห็น
                       เพื่อผลักดันใหรางประกาศกระทรวงดิจิทัลที่จะมีผลบังคับใชในอนาคตสามารถปฏิบัติและสอดรับกับ
                       พระราชบัญญัติคอมพิวเตอรฯ นี้โดยมีประเด็นพิจารณาดังนี้


                                     ๑. การใชพระราชบัญญัติวาดวย การกระทําความผิดเกี่ยวกับคอมพิวเตอร พ.ศ. ๒๕๕๐
                       มาประกอบมาตรา ๑๔ การลงโทษความผิดฐานหมิ่นประมาทตามประมวลกฎหมายอาญา

                                     ๒. การใหคณะกรรมการกลั่นกรองขอมูลคอมพิวเตอรมีอํานาจสั่งใหเผยแพรหรือระงับ
                       ขอมูลออกจากระบบคอมพิวเตอรได

                                     ๓. รางประกาศของกระทรวงดิจิตอลเพื่อเศรษฐกิจและสังคมออกภายใตพระราชบัญญัติ
                       วาดวย การกระทําผิดเกี่ยวกับคอมพิวเตอร (ฉบับที่ ๒) พ.ศ. ๒๕๖๐

                       ๒. ขอคิดเห็นและขอเสนอแนะ

                                     ๒.๑ เกี่ยวกับเหตุผลของพระราชบัญญัติ วาดวยการกระทําความผิดเกี่ยวกับ

                       คอมพิวเตอร (ฉบับที่ ๒) พ.ศ. ๒๕๖๐

                                     เหตุผลที่มีการแกไขพระราชบัญญัติ วาดวยการกระทําความผิดเกี่ยวกับคอมพิวเตอร
                       พ.ศ. ๒๕๕๐ เนื่องจากบทบัญญัติที่มีอยูไมเหมาะสมตอการปองกันและปราบปรามการกระทําความผิด
                       เกี่ยวกับคอมพิวเตอรในปจจุบัน ซึ่งมีรูปแบบการกระทําที่ซับซอนมากขึ้นตามการพัฒนาการทางเทคโนโลยี
                       จึงเห็นสมควรปรับปรุงบทบัญญัติในสวนที่เกี่ยวกับผูรักษาการตามกฎหมาย กําหนดฐานความผิดขึ้นใหม

                       และแกไขฐานความผิดเดิม รวมทั้งบทกําหนดโทษของความผิดดังกลาว การปรับปรุงกระบวนการและ
                       หลักเกณฑในการระงับการทําใหแพรหลายหรือลบขอมูลคอมพิวเตอร ตลอดจนกําหนดใหมีคณะกรรมการ
                       เปรียบเทียบ ซึ่งมีอํานาจเปรียบเทียบความผิดตามพระราชบัญญัติ วาดวยการกระทําความผิดเกี่ยวกับ






                                     27  กฎหมาย ๖ ฉบับ ไดแก พระราชบัญญัติประกอบธุรกรรมทางอิเล็กทรอนิกส พระราชบัญญัติลายมือชื่อ
                       อิเล็กทรอนิกส พระราชบัญญัติเกี่ยวกับการพัฒนาโครงสรางพื้นฐานสารสนเทศใหทั่วถึงและเทาเทียมกัน (กฎหมายลําดับรองของรัฐธรรมนูญ
                       แหงราชอาณาจักรไทย พ.ศ. ๒๕๔๐ มาตรา ๗๘) พระราชบัญญัติคุมครองขอมูลสวนบุคคล พระราชบัญญัติการโอนเงินทางอิเล็กทรอนิกส
                       และพระราชบัญญัติอาชญากรรมคอมพิวเตอร (เปลี่ยนชื่อเปนพระราชบัญญัติวาดวยการกระทําความผิดที่เกี่ยวกับคอมพิวเตอรในภายหลัง)
   28   29   30   31   32   33   34   35   36   37   38