Page 35 - ประมวลความเห็นทางกฎหมาย ระหว่างวันที่ 1 มิถุนายน 2559 ถึงวันที่ 15 สิงหาคม 2560
P. 35

๓๓



                                     “มาตรา ๑๔ วรรคแรก (๑) โดยทุจริต หรือโดยหลอกลวง นําเขาสูระบบคอมพิวเตอร
                       ซึ่งขอมูลคอมพิวเตอรที่บิดเบือนหรือปลอม ไมวาทั้งหมดหรือบางสวน หรือขอมูลคอมพิวเตอรอันเปนเท็จ

                       โดยประการที่นาจะเกิดความเสียหายแกประชาชน อันมิใชการกระทําความผิดฐานหมิ่นประมาท
                       ตามประมวลกฎหมายอาญา เห็นวามีการเพิ่มเติมขอความ “อันมิใชการกระทําความผิดฐานหมิ่นประมาท
                       ตามประมวลกฎหมายอาญา” ทําใหสามารถแยกประเด็นความผิดเกี่ยวกับคอมพิวเตอรและความผิด
                       ฐานหมิ่นประมาทตามประมวลกฎหมายอาญาออกจากกัน อันอาจแกปญหาการนําพระราชบัญญัติวาดวย
                       การกระทําความผิดเกี่ยวกับคอมพิวเตอร พ.ศ. ๒๕๕๐ มาประกอบกับความผิดฐานหมิ่นประมาท

                       ตามมาตรา ๓๒๘ แหงประมวลกฎหมายอาญา ได

                                     ที่ผานมาพบวามีการนําความผิดตามมาตรา ๑๔ (๑) ของพระราชบัญญัติวาดวยการกระทํา
                       ความผิดเกี่ยวกับคอมพิวเตอร พ.ศ. ๒๕๕๐ มาเกี่ยวของกับการกระทําความผิดฐานหมิ่นประมาท ปรากฏวา
                       คดีหมิ่นประมาทมีการตกลงและยอมความได แตความผิดที่เกิดขึ้นตาม มาตรา ๑๔ (๑) พระราชบัญญัติ
                       วาดวยการกระทําความผิดเกี่ยวกับคอมพิวเตอร พ.ศ. ๒๕๕๐ ไมสามารถยอมความได แตเมื่อมีการแกไข

                       ขอความในมาตรา ๑๔ (๑) วา “อันมิใชการกระทําความผิดฐานหมิ่นประมาทตามประมวลกฎหมาย
                       อาญา” ก็สามารถแกไขปญหาในประเด็นนี้และก็ถือเปนการสรางความชัดเจนตรงตามเจตนารมณของ
                       การบังคับในกฎหมายในตอนที่เริ่มรางพระราชบัญญัติคอมพิวเตอร พ.ศ. ๒๕๕๐ ตั้งแตตน

                                     ๒.๔ การใหคณะกรรมการกลั่นกรองขอมูลคอมพิวเตอรมีอํานาจสั่งใหเผยแพรหรือ

                       ระงับขอมูลออกจากระบบคอมพิวเตอร

                                     พระราชบัญญัติวาดวยการกระทําความผิดเกี่ยวกับคอมพิวเตอร (ฉบับที่ ๒) พ.ศ. ๒๕๖๐
                       มาตรา ๑๔ แกไขเพิ่มเติมพระราชบัญญัติวาดวยการกระทําความผิดเกี่ยวกับคอมพิวเตอร พ.ศ. ๒๕๕๐
                       มาตรา ๒๐ วรรคแรกและวรรคสองมีคําวา ความสงบเรียบรอยหรือศีลธรรมอันดีของประชาชน วรรคสาม
                       วาดวยการแตงตั้งคณะกรรมการกลั่นกรองขอมูลคอมพิวเตอรซึ่งกําหนดใหมีคณะหนึ่งหรือหลายคณะ

                       แตละคณะใหมีกรรมการจํานวนเกาคนซึ่งสามในเกาคนตองมาจากผูแทนภาคเอกชนดานสิทธิมนุษยชน
                       ดานสื่อสารมวลชน ดานเทคโนโลยีสารสนเทศ หรือดานอื่นที่เกี่ยวของ

                                     ดังกลาวขางตน เห็นไดวาองคประกอบของคณะกรรมการฯ นี้มีความชัดเจนขึ้น
                       สวนขั้นตอนและมีวิธีการในการสรรหาบุคคลที่จะเขามาทําหนาที่คณะกรรมการกลั่นกรอง
                       ขอมูลคอมพิวเตอรอยูในระหวางการยกรางประกาศกระทรวงดิจิทัลเพื่อเศรษฐกิจและสังคม เรื่อง แตงตั้ง

                       คณะกรรมการกลั่นกรองขอมูลคอมพิวเตอรตามพระราชบัญญัติวาดวยการกระทําความผิดเกี่ยวกับ
                       คอมพิวเตอร พ.ศ. ๒๕๕๐ พ.ศ. ... สวนขอกังวลเกี่ยวกับการไมมีหลักเกณฑเงื่อนไขตีความที่ชัดเจนของคําวา
                       “ความสงบเรียบรอยหรือศีลธรรมอันดีของประชาชน” นั้น รางประกาศกระทรวงดิจิทัลเพื่อเศรษฐกิจและ

                       สังคม ฉบับดังกลาวจะมีการกําหนดลักษณะขอมูลคอมพิวเตอรที่อาจมีลักษณะขัดตอความสงบเรียบรอย
                       หรือศีลธรรมอันดีของประชาชนไวและใหเปนดุลพินิจของคณะกรรมการกลั่นกรองขอมูลคอมพิวเตอร
                       ซึ่งอาจมีปญหาการตีความกฎหมายที่อาจแตกตางกันไปหากมีคณะกรรมการกลั่นกรองขอมูลคอมพิวเตอร
                       มากกวา ๑ คณะ ทั้งยังไมยึดแนวคิดที่อยูในหลักสากลที่ขอบเขตการใชอํานาจตามกฎหมายตองมี
   30   31   32   33   34   35   36   37   38   39   40