Page 30 - ประมวลความเห็นทางกฎหมาย ระหว่างวันที่ 1 มิถุนายน 2559 ถึงวันที่ 15 สิงหาคม 2560
P. 30

๒๘



               มาตรา 277 ตรี (1)  มาตรา 278 มาตรา 279 มาตรา 280 (๑) มาตรา 282 วรรคสองและวรรคสาม
               มาตรา 283 วรรคสองและวรรคสาม มาตรา 284 ซึ่งกระทําตอผูเยาวหยุดนับลงชั่วคราวจนกวา

               ผูเสียหายจะบรรลุนิติภาวะ (อายุ 20 ปบริบูรณ และบรรลุนิติภาวะโดยการสมรส) จึงสอดคลองกับ
               การคุมครองสิทธิในกระบวนการยุติธรรมใหมีประสิทธิภาพเกิดประโยชนสูงสุดตอผูเยาว

                             ตัวอยางกฎหมายตางประเทศ

                             ประเทศเยอรมนี มีการนําหลักการอายุความสะดุดหยุดอยูมาใช เดิมใชเกณฑบรรลุนิติ
               ภาวะ เมื่อเด็กถูกลวงละเมิดทางเพศ อายุความก็จะหยุดนับจนกวาเด็กจะบรรลุนิติภาวะ (อายุ ๑๘ ป
               บริบูรณ) 22  ตอมาในป ค.ศ. ๒๐๑๓ ไดกําหนดใหอายุความสะดุดหยุดอยูจนกวาจะอายุ ๒๑ ป และลาสุด
               ในป ๒๐๑๖ ไดแกไขเพิ่มเปนอายุ ๓๐ ป 23


                             ประเทศออสเตรีย มีการนําหลักการอายุความสะดุดหยุดอยูมาใชในความผิดเกี่ยวกับชีวิต
               รางกาย เสรีภาพ โดยใชเกณฑอายุ ๒๘ ป 24

                             ประเทศสวิตเซอรแลนด ในกรณีที่ผูถูกกระทํามีอายุนอยมากๆ จะไมมีอายุความ 25

                                               26
                             ประเทศสหรัฐอเมริกา ใน 18 U.S.C. บทที่ 213 อันวาดวยอายุความมีมาตรา 3283
               กําหนดอายุความในความผิดที่กระทําตอเด็กไวโดยเฉพาะ สําหรับความผิดเกี่ยวกับเพศหรือเกี่ยวกับ
               เนื้อตัวรางกายที่กระทําตอเด็กอายุตํากวา 18 ป กฎหมายใหฟองไดตลอดอายุของความเปนเด็ก (ฟองได

               จนกระทั่งเหยื่อมีอายุ 25 ป) หรือภายใน 10 ปหลังจากการกระทําผิดเกิดขึ้น แลวแตวากรณีใดนานกวา
               อันเปนกรณีกฎหมายคุมครองเด็กโดยใหโอกาสแกเด็กจนกระทั่งอายุ 25 ป ในการฟองรองคดี ทั้งนี้
               เมื่อเด็กบรรลุนิติภาวะพอสมควรแลวก็สามารถตัดสินใจไดวาจะฟองคดีกับการกระทําผิดที่ไดเกิดขึ้นกับ
               ตัวเองในขณะที่เปนเด็กอยูหรือไม

                             ประเด็นที่ ๔ เพิ่มเงื่อนไขในการรองทุกข (มาตรา ๙๖ วรรคสอง)

                             การเพิ่มเงื่อนไขในการรองทุกข มาตรา ๙๖

                            ปจจุบันมาตรา ๙๖ ของประมวลกฎหมายอาญา บัญญัติวา “ในกรณีความผิดอันยอมความได

               ถาผูเสียหายมิไดรองทุกขภายในสามเดือนนับแตวันที่รูเรื่องความผิดและรูตัวผูกระทําความผิด เปนอัน
               ขาดอายุความ” สงผลใหผูเสียหายที่เปนผูเยาว ผูมีกายพิการหรือจิตฟนเฟอนไมสมประกอบ ผูไรความสามารถ
               ผูเสมือนไรความสามารถซึ่งเปนผูมีความออนดอยทางสติปญญาและวุฒิภาวะ มีปญหาเรื่องการขาดอายุความ

               ฟองรองดําเนินคดี ดังตัวอยางคําพิพากษาฎีกาฉบับหนึ่งไดวางแนวทางการพิจารณากรณีจําเลยหลอก
               บุคคลปญญาออน อายุ ๒๐ กวาป แตอายุสมองประมาณ ๗ ป ใหถอนเงินและปดบัญชีธนาคาร แลวสงมอบ


                             22  หฤทยา วุธยากร. อายุความรองทุกขในความผิดฐานขมขืนกระทําชําเราและการกระทําอนาจาร อันยอมความได:
               ศึกษาเฉพาะกรณีผูเสียหายเปนผูเยาว. วิทยานิพนธนิติศาสตรมหาบัณฑิตย มหาวิทยาลัยธุรกิจบัณฑิตย. 2553. หนา 71.
                             23  นายสุรสิทธิ์ แสงวิโรจนพัฒน ผูพิพากษาหัวหนาศาล ประจําสํานักประธานศาลฎีกา
                             24  นายสุรสิทธิ์ แสงวิโรจนพัฒน ผูพิพากษาหัวหนาศาล ประจําสํานักประธานศาลฎีกา
                             25  นายสุรสิทธิ์ แสงวิโรจนพัฒน ผูพิพากษาหัวหนาศาล ประจําสํานักประธานศาลฎีกา
                             26 หฤทยา วุธยากร. อายุความรองทุกขในความผิดฐานขมขืนกระทําชําเราและการกระทําอนาจาร อันยอมความได:
               ศึกษาเฉพาะกรณีผูเสียหายเปนผูเยาว. วิทยานิพนธนิติศาสตรมหาบัณฑิตย มหาวิทยาลัยธุรกิจบัณฑิตย. 2553. หนา 66 -67.
   25   26   27   28   29   30   31   32   33   34   35