Page 29 - ประมวลความเห็นทางกฎหมาย ระหว่างวันที่ 1 มิถุนายน 2559 ถึงวันที่ 15 สิงหาคม 2560
P. 29

๒๗



                       ที่แตกตางกันของผูใชกฎหมาย ตั้งแตประชาชนทั่วไป ทนายความ ชั้นตํารวจ พนักงานสอบสวน อัยการ
                       รวมถึงศาลดวย

                                     สําหรับความผิด “ขายเด็ก” มาตรา ๓๒๐/๑ รางพระราชบัญญัติแกไขเพิ่มเติมประมวล
                       กฎหมายอาญา (ฉบับที่...) พ.ศ. ... เปรียบเทียบกับ มาตรา ๕๒ แหงพระราชบัญญัติปองกันและ

                       ปราบปรามการคามนุษย (ฉบับที่ ๓ ) พ.ศ. ๒๕๖๐ นั้น หากผูกระทําความผิดเปนบิดา มารดา ผูปกครอง
                       ดูแลเด็กอายุต่ํากวา 15 ป แลวมอบเด็กใหผูอื่นไปโดยมีประโยชนตอบแทน จะมีความผิดฐานซื้อขายเด็ก
                       ตามรางแกไขเพิ่มเติมประมวลกฎหมายอาญาแลว อาจเปนความผิดตามมาตรา ๕๒ แหง พรบ. ปองกัน

                       และปราบปรามการคามนุษยฯ ได หากเขาเงื่อนไขบทนิยามการคามนุษย จึงเปนกรณีกรรมเดียว
                       ผิดตอกฎหมายหลายบทและศาลจะลงโทษบทหนักที่สุด การดําเนินคดีคามนุษย นอกจากตองพิจารณา
                       ความผิดที่กําหนดไวในพรบ. ปองกันและปราบปรามการคามนุษยแลว จึงยังมีกฎหมายอื่นที่พึงนํามา
                       พิจารณาประกอบดวย ดังเชน ประมวลกฎหมายอาญา มาตรา 282 วรรคหนึ่งถึงวรรคสี่ ฐานเปนธุระจัดหา
                       เพื่อสนองความใคร มาตรา ๒๘๓ วรรคหนึ่ง ฐานเปนธุระจัดหาชายหรือหญิงเพื่อสนองความใครของผูอื่น

                       โดยชายหรือหญิงนั้นไมยินยอม มาตรา ๒๘๓ วรรคสอง ฐานเปนธุระจัดหาบุคคลอายุไมเกิน ๑๕ ป แตไมเกิน
                       ๑๘ ป ไปสนองความใครของผูอื่นโดยผูนั้นไมยินยอม มาตรา ๒๘๓ วรรคสาม ฐานเปนธุระจัดหาบุคคล
                       อายุไมเกิน ๑๕ ป ไปสนองความใครของผูอื่นโดยเด็กไมยินยอม มาตรา ๒๘๓ ทวิ วรรคหนึ่ง ฐานพาบุคคล

                       อายุเกิน ๑๕ ป แตไมเกิน ๑๘ ป ไปเพื่อการอนาจารแมบุคคลนั้นจะยินยอม มาตรา 283 ทวิ วรรคสอง
                       ฐานพาบุคคลยังไมเกิน ๑๕ ป ไปเพื่อการอนาจาร แมบุคลนั้นจะยินยอม มาตรา ๓๐๙ ความผิดฐานขมขืน
                       ใจผูอื่น มาตรา ๓๑๐ ความผิดฐานทําใหผูอื่นปราศจากเสรีภาพในรางกาย เปนตน รายละเอียดปรากฏใน
                       เอกสารแนบทาย

                                     ประเด็นที่ ๓ การกําหนดเพิ่มอายุความในกรณีความผิดเกี่ยวกับเพศ (มาตรา ๙๕/๑)

                                     การแกไข เพิ่มเติมมาตรา 95/1 ในกรณีความผิดเกี่ยวกับเพศไดกําหนดใหอายุความ

                       สะดุดหยุดอยู จนกวาผูเสียหายจะบรรลุนิติภาวะ ซึ่งเปนการนําหลักในกฎหมายแพงมาใชในกฎหมาย
                       อาญา เนื่องจากอายุความในคดีอาญาเปนการกําหนดระยะเวลาในการใชสิทธิฟองรอง หากไมดําเนินการ
                       ภายในระยะเวลาที่กฎหมายกําหนดก็จะมีผลใหคดีขาดอายุความ เชน ในกรณีที่ผูเสียหายเปนเด็กเมื่อถูก

                       ลวงละเมิดทางเพศจากผูปกครอง เด็กไมมีโอกาสที่จะฟองรองหากไมกําหนดใหอายุความสะดุดหยุดอยู
                       คดีก็จะขาดอายุความได
                                     เห็นวา การกําหนดอายุความเด็กเชนเดียวกับความผิดที่กระทํากับผูใหญ เด็กอาจไมมี
                       วุฒิภาวะพอที่จะทราบวาการกระทําอาจเปนการกระทําผิดตอเด็ก บางกรณีเด็กไมอยูในภาวะที่จะฟอง
                       ผูกระทําผิดได ทั้งนี้ เนื่องจากผูกระทําผิดเปนบุคคลที่เด็กตองพึ่งพาหรืออาศัยดวย การกําหนดใหฟองได

                       เมื่อเด็กมีอายุพอสมควรเปนการขยายโอกาสใหเด็กมีโอกาสตัดสินใจวาจะฟองผูกระทําผิดหรือไม การแกไข
                       กฎหมายในประเด็นดังกลาวเปนการใหความสําคัญกับผูเสียหายที่เปนผูเยาว โดยคํานึงถึงความออนดอย
                       ทางปญญาและวุฒิภาวะของผูเสียหาย ซึ่งถือไดวาเปนอุปสรรคสําคัญยิ่งตอการแสดงเจตจํานงของ

                       ผูเสียหายในการดําเนินคดี ดังนั้น เพื่อเปนการลดอุปสรรคตางๆในการดําเนินคดีอาญาตอผูที่กระทํา
                       ความผิด โดยการบัญญัติใหอายุความในความผิดอาญาเกี่ยวกับเพศ ตามมาตรา 227 มาตรา 227 ทวิ (1)
   24   25   26   27   28   29   30   31   32   33   34