Page 380 - รายงานวิจัยฉบับสมบูรณ์ เรื่อง กฎหมายว่าด้วยความเสมอภาคและการไม่เลือกปฏิบัติ
P. 380
กฎหมายว่าด้วยความเสมอภาคและการไม่เลือกปฏิบัติ
เนื่องจำกเมื่อพิจำรณำหลักกฎหมำยสิทธิมนุษยชนของมลรัฐ British Columbia แล้วจะ
พบว่ำ แม้มีกำรก�ำหนดหลักห้ำมเลือกปฏิบัติไว้ แต่ก็มิได้ก�ำหนดไว้อย่ำงชัดเจนถึงกำรห้ำมเลือกปฏิบัติด้วยเหตุกำรให้นม
บุตรจำกอกแม่ หำกพิจำรณำว่ำเหตุดังกล่ำวไม่อยู่ในเหตุแห่งกำรเลือกปฏิบัติใด ๆ ตำมกฎหมำยแล้ว คณะผู้พิจำรณำก็ไม่มี
เหตุผลทำงกฎหมำยที่จะวินิจฉัยว่ำกรณีนี้เป็นกำรเลือกปฏิบัติ อย่ำงไรก็ตำม คณะผู้พิจำรณำเทียบเคียงกับค�ำพิพำกษำ
ของศำลสูงสุด ๒ คดี ดังนี้
363
คดีแรก Bliss v. Attorney General of Canada ซึ่งศำลสูงสุดตัดสินในปี ค.ศ. ๑๙๗๙
โดยศำลได้วินิจฉัยประเด็นกำรเลือกปฏิบัติด้วยเหตุแห่งกำรตั้งครรภ์ ซึ่งศำลเห็นว่ำกฎหมำยที่พิพำทในคดีนั้น (กฎหมำย
ประกันกำรว่ำงงำน) วำงหลักปฏิบัติต่อสตรีตั้งครรภ์แตกต่ำงจำกผู้อื่นด้วยเหตุที่สตรีผู้นั้นตั้งครรภ์ มิใช่ด้วยเหตุที่ผู้นั้นมี
เพศเป็นสตรี ดังนั้นกำรปฏิบัติที่ไม่เท่ำเทียมกันจึงเกิดขึ้นตำมธรรมชำติ มิใช่เกิดจำกกฎหมำย ศำลจึงสรุปว่ำกำรเลือก
ปฏิบัติด้วยเหตุแห่งกำรตั้งครรภ์นั้นไม่เป็นกำรเลือกปฏิบัติด้วยเหตุแห่งเพศ
คดีที่สอง Brooks v. Canada Safeway ในปี ค.ศ. ๑๙๘๙ ศำลได้เปลี่ยนแนววินิจฉัย
364
โดยตัดสินว่ำ กำรปฏิบัติที่แตกต่ำงด้วยเหตุแห่งกำรตั้งครรภ์นั้นไม่อำจเป็นอย่ำงอื่นไปได้นอกจำกกำรปฏิบัติที่แตก
ต่ำงด้วยเหตุแห่งเพศ หรืออย่ำงน้อยที่สุดเป็นกำรปฏิบัติที่แตกต่ำงด้วยเหตุ “เกี่ยวกับเพศ” (Sex-related) ศำลในคดีนี้
ได้ย้อนไปพิจำรณำถึงคดี Bliss และอธิบำยว่ำ ในปัจจุบันแรงงำนหญิงมีบทบำทพัฒนำเศรษฐกิจและสังคม เป็นกำรไม่
ยุติธรรมที่จะก�ำหนดให้เกิดภำระต้นทุนทั้งหมดแก่สตรีที่ตั้งครรภ์ และเป็นกำรยำกที่จะพิจำรณำว่ำเงื่อนไขตำมกฎหมำย
ที่บังคับใช้กับผู้ตั้งครรภ์ซึ่งโดยธรรมชำติจะต้องเป็นหญิงเท่ำนั้น มิใช่เป็นเงื่อนไขที่ไม่เป็นกำรเลือกปฏิบัติต่อหญิง ดังนั้น
เป็นกำรยำกที่จะยอมรับว่ำควำมไม่เท่ำเทียมกันที่เกิดขึ้นกับ Bliss ในคดีก่อนนั้นเกิดจำกธรรมชำติ เนื่องจำกกำรตั้งครรภ์
เป็นคุณลักษณะพิเศษเฉพำะของเพศหญิงและเป็นคุณลักษณะประกำรหนึ่งที่จ�ำแนกควำมแตกต่ำงระหว่ำงหญิงและ
ชำย ดังนั้น ควำมแตกต่ำงบนพื้นฐำนของกำรตั้งครรภ์ไม่เป็นเพียงควำมแตกต่ำงระหว่ำงบุคคลซึ่งตั้งครรภ์กับบุคคลซึ่งไม่
ตั้งครรภ์ หำกแต่เป็นควำมแตกต่ำงบนพื้นฐำนแห่งเพศซึ่งมีควำมสำมำรถในกำรตั้งครรภ์กับเพศซึ่งไม่มีควำมสำมำรถใน
กำรตั้งครรภ์ หำกน�ำตรรกะแนวกำรพิจำรณำเช่นนี้มำปรับใช้กับกรณีกำรให้นมบุตรจำกอกแม่ จะเห็นได้ว่ำ ควำมสำมำรถ
ในกำรให้นมบุตรจำกอกเป็นคุณสมบัติเฉพำะของเพศหญิง ดังนั้น กำรปฏิบัติที่แตกต่ำงระหว่ำงลูกจ้ำงที่สำมำรถให้นมบุตร
จำกอก กับลูกจ้ำงที่ไม่สำมำรถให้นมบุตรจำกอก จึงเป็นกำรปฏิบัติที่แตกต่ำงหรือกำรเลือกปฏิบัติด้วยเหตุแห่งเพศนั่นเอง
จำกแนวค�ำตัดสินของศำลดังกล่ำวข้ำงต้น คณะผู้พิจำรณำจึงเห็นว่ำ กำรเลือกปฏิบัติด้วย
เหตุแห่งกำรให้นมบุตรนั้นเป็นกำรเลือกปฏิบัติด้วยเหตุแห่งเพศ จะเห็นได้ว่ำ กำรตีควำมนี้ท�ำให้สำมำรถคุ้มครองสิทธิ
ของผู้ถูกเลือกปฏิบัติด้วยเหตุซึ่งมิได้บัญญัติไว้โดยตรงตำมตัวบทกฎหมำย แต่เป็นเหตุที่มีควำมสัมพันธ์และเชื่อมโยงกับ
เหตุที่กฎหมำยระบุไว้
กำรเลือกปฏิบัติ คือ กำรปฏิบัติที่แตกต่ำง ไม่ว่ำโดยเจตนำหรือไม่ก็ตำม บนพื้นฐำนที่
เกี่ยวข้องกับคุณลักษณะของบุคคลหรือกลุ่มบุคคล ซึ่งส่งผลให้เกิดภำระ หน้ำที่ หรือควำมเสียเปรียบต่อบุคคลหรือกลุ่ม
365
บุคคลนั้น หรือเป็นกำรจ�ำกัดกำรเข้ำถึงโอกำส ผลประโยชน์ที่บุคคลอื่นในสังคมมีสิทธิได้รับ
363 From “Bliss v. Attorney General of Canada, [1979]” 1 S.C.R. 183
364 From “Brooks v. Canada Safeway, [1989]” 1 S.C.R. 1219, 10 C.H.R.R. D/6183
365 From “Andrews v. Law Society ofBritish Columbia, [1989]” 1 S.C.R. 143 at 175, 10 C.H.R.R. D/5719 at
D/5746,
379