Page 262 - รายงานวิจัยฉบับสมบูรณ์ เรื่อง กฎหมายว่าด้วยความเสมอภาคและการไม่เลือกปฏิบัติ
P. 262
กฎหมายว่าด้วยความเสมอภาคและการไม่เลือกปฏิบัติ
แห่งรัฐธรรมนูญ….” จะเห็นได้ว่ำ โดยหลักแล้ว เหตุแห่งกำรเลือกปฏิบัติตำมรัฐธรรมนูญของไทยมีควำมสอดคล้องกับ
เหตุแห่งกำรเลือกปฏิบัติตำมกฎหมำยสิทธิมนุษยชนระหว่ำงประเทศ อย่ำงไรก็ตำม เมื่อเปรียบเทียบเหตุแห่งกำรเลือก
ปฏิบัติตำมกฎหมำยไทยกับกฎหมำยระหว่ำงประเทศแล้ว พบว่ำมีควำมแตกต่ำงกันโดยอำจจ�ำแนกเป็น ๒ กรณี ดังนี้
เหตุแห่งการเลือกปฏิบัติที่รัฐธรรมนูญของไทยก�าหนดในลักษณะที่กว้างกว่าหรือเพิ่มเติมจาก
ที่กฎหมายระหว่างประเทศระบุไว้ เช่น “กำรศึกษำอบรม” “สถำนะทำงเศรษฐกิจหรือสังคม”
อย่ำงไรก็ตำม อำจพิจำรณำได้ว่ำเหตุดังกล่ำวอำจจัดอยู่ในควำมหมำยของ “สถำนะอื่น” ตำม
กฎหมำยระหว่ำงประเทศได้ นอกจำกนี้ ส�ำหรับกรณี “สภำพทำงกำยหรือสุขภำพ” นั้นมีควำม
หมำยแตกต่ำงจำก “ควำมพิกำร” โดยอำจรวมถึงสภำพทำงกำยต่ำง ๆ เช่น น�้ำหนัก ควำมสูง
หรือกำรเจ็บป่วยเป็นโรคบำงอย่ำงซึ่งไม่จัดอยู่ในควำมหมำยของ “ควำมพิกำร” ได้ด้วย หำก
เปรียบเทียบกับ ร่างรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย ฉบับเสนอสภาปฎิรูปแห่งชาติลงมติ
พบว่ำมีกำรระบุเหตุแห่งกำรเลือกปฏิบัติคล้ำยคลึงกับรัฐธรรมนูญฉบับปี ๒๕๕๐ โดยมีเพิ่มเติม
เหตุแห่ง “เพศสภำพ” เข้ำมำด้วย
เหตุแห่งการเลือกปฏิบัติที่รัฐธรรมนูญของไทยมีการใช้ถ้อยค�าในลักษณะที่แคบกว่ากฎหมาย
ระหว่างประเทศ เช่น ให้กำรคุ้มครองเหตุเกี่ยวกับ “ความคิดเห็นทางการเมือง” ในขณะที่
กฎหมำยระหว่ำงประเทศครอบคลุม “ความคิดเห็นอื่นใด” ด้วย ซึ่งมีขอบเขตกว้ำงกว่ำกำรเมือง
เช่น ควำมคิดเห็นในประเด็นต่ำง ๆ ของสังคม ส�ำหรับกรณี “ควำมเชื่อทำงศำสนำ” นั้นท�ำให้
ขอบเขตของเหตุนี้มีลักษณะจ�ำกัดลง โดยควำมเชื่อที่จะได้รับกำรคุ้มครองต้องเกี่ยวข้องกับ
“ศำสนำ” อันน�ำไปสู่ประเด็นปัญหำว่ำ ควำมเชื่อที่ไม่เกี่ยวข้องกับศำสนำ รวมทั้งศำสนำที่
มิใช่ศำสนำกระแสหลัก จะจัดอยู่ในเหตุที่ได้รับควำมคุ้มครองนี้หรือไม่ ในขณะที่ตำมกฎหมำย
ระหว่ำงประเทศนั้น ควำมเชื่ออื่นที่ไม่เกี่ยวข้องกับศำสนำ อำจได้รับกำรคุ้มครองภำยใต้ควำม
หมำยของ “ควำมคิดเห็นอื่นใด” ในขณะที่กฎหมำยบำงประเทศระบุควำมเชื่ออื่น ๆ แยกจำก
ศำสนำ โดยเฉพำะ เช่น กฎหมำยสวีเดนระบุ “ศำสนำหรือความเชื่ออื่น ๆ (Religion or other
Belief)” นอกจำกนี้ ยังมีข้อสังเกตว่ำ จำกร่างรัฐธรรมนูญเบื้องต้น (๒๕๕๙) ก�ำหนดเหตุแห่ง
กำรเลือกปฏิบัติไว้เพียง “เหตุแห่งความแตกต่างระหว่างบุคคล เพศ ความพิการ หรือเหตุอื่น
ใด” ซึ่งเป็นกำรระบุเหตุแห่งกำรเลือกปฏิบัติไว้ในขอบเขตที่จ�ำกัดกว่ำกฎหมำยสิทธิมนุษยชน
ระหว่ำงประเทศ ท�ำให้เกิดปัญหำต้องตีควำมว่ำ เหตุอื่น ๆ ที่รัฐธรรมนูญไม่ระบุไว้แต่เป็นเหตุ
ตำมกฎหมำยสิทธิมนุษยชนระหว่ำงประเทศนั้น สำมำรถจัดอยู่ใน “เหตุอื่นใด” ได้หรือไม่
นอกจำกนี้ เมื่อเปรียบเทียบเหตุแห่งกำรเลือกปฏิบัติตำมกฎหมำยไทยกับกฎหมำยต่ำงประเทศแล้ว
พบว่ำมีควำมแตกต่ำงกัน โดยอำจจ�ำแนกเป็น ๒ กรณี ดังนี้
261