Page 263 - รายงานวิจัยฉบับสมบูรณ์ เรื่อง กฎหมายว่าด้วยความเสมอภาคและการไม่เลือกปฏิบัติ
P. 263

ส�ำนักงำนคณะกรรมกำรสิทธิมนุษยชนแห่งชำติ






                    เหตุแห่งการเลือกปฏิบัติบางกรณีกฎหมายต่างประเทศได้ขยายความจากเหตุดั้งเดิมที่ระบุไว้ ให้กว้าง
                    เพี่อครอบคลุมการเลือกปฏิบัติที่อาจมีปัญหา เช่น กรณีกำรเลือกปฏิบัติด้วยเหตุแห่ง “เพศ” นั้น ใน

                    หลำยประเทศระบุจ�ำแนกละเอียดออกเป็น รสนิยมทำงเพศ อัตลักษณ์ทำงเพศ กำรแสดงออกทำงเพศ
                    ด้วย ในขณะที่ประเทศไทยมีกำรบัญญัติไว้เพียง “เพศ” แม้ว่ำ ร่างรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทยฉบับ

                    เสนอสภาปฎิรูปแห่งชาติลงมติ มีกำรเพิ่มเติม“เพศสภำพ” เข้ำมำด้วย แต่ร่ำงดังกล่ำวก็ไม่มีผลบังคับและ
                    ยังไม่แจกแจงรำยละเอียดของเหตุอื่น ๆ ที่เกี่ยวข้อง เช่น กำรแสดงออกทำงเพศ ฯลฯ ดังเช่นกฎหมำย
                    ต่ำงประเทศ อย่ำงไรก็ตำม กฎหมำยเฉพำะ เช่น พระรำชบัญญัติควำมเท่ำเทียมระหว่ำงเพศ พ.ศ. ๒๕๕๘

                    มำตรำ ๓ ระบุเหตุแห่ง “กำรเลือกปฏิบัติโดยไม่เป็นธรรมระหว่ำงเพศ” ในขอบเขตที่กว้ำงขึ้น กล่ำวคือ
                    รวมถึง “เพศชำยหรือเพศหญิง หรือมีการแสดงออกที่แตกต่างจากเพศโดยก�าเนิด” นอกจำกนี้ ในบำง

                    เหตุที่กฎหมำยต่ำงประเทศระบุไว้ชัดเจน เช่น การติดเชื้อเอชไอวี ดังเห็นได้จำกกฎหมำยระดับมลรัฐ
                    หลำยมลรัฐในออสเตรเลีย แต่ในกรณีของไทยจะต้องตีควำมของถ้อยค�ำเกี่ยวกับเหตุ “สุขภำพ” ที่ระบุ
                    ไว้ในรัฐธรรมนูญ





                    เหตุแห่งการเลือกปฏิบัติที่กฎหมายต่างประเทศระบุครอบคลุม แต่ส�าหรับประเทศไทยยังมีปัญหาว่า

                    จะจัดอยู่ในเหตุแห่งการเลือกปฏิบัติหรือไม่ ทั้งนี้ พบว่ำบำงเหตุมิได้ระบุไว้โดยชัดแจ้งตำมกฎหมำยสิทธิ
                    มนุษยชนระหว่ำงประเทศ แต่กฎหมำยต่ำงประเทศบำงประเทศก�ำหนดครอบคลุมขึ้นมำ เพื่อเป็นกำร
                    คุ้มครองกำรเลือกปฏิบัติในปัจจุบันที่มีลักษณะเปลี่ยนแปลงไปตำมสภำวะทำงสังคม เช่น ประวัติกำร

                    ต้องโทษทำงอำญำซึ่งได้รับกำรยกเว้นโทษหรือรอลงอำญำ กำรให้นมบุตรจำกอกแม่ เหตุเหล่ำนี้จะได้
                    แยกวิเครำะห์เป็นหัวข้อต่ำงหำกต่อไป




                       หลังจำกศึกษำถึงขอบเขตควำมหมำยของเหตุแห่งกำรเลือกปฏิบัติตำมกฎหมำยสิทธิมนุษยชนแล้ว ใน

          ล�ำดับต่อไปจะได้วิเครำะห์แนวค�ำพิพำกษำของไทยโดยใช้เหตุแห่งกำรเลือกปฏิบัติเป็นเกณฑ์ในกำรจ�ำแนกวิเครำะห์
          จัดกลุ่มค�ำพิพำกษำเป็นกรณีที่เกี่ยวข้องกับเหตุแห่งกำรเลือกปฏิบัติ และกรณีที่แตกต่ำงหรือไม่เกี่ยวข้องกับเหตุแห่งกำร
          เลือกปฏิบัติ



               ๔.๔.๒ การปฏิบัติที่แตกต่างกันอันจัดอยู่ใน “เหตุแห่งการเลือกปฏิบัติ”: คดีของศาลปกครอง



                       ในบริบทของกฎหมำยสิทธิมนุษยชนนั้น กฎเกณฑ์ แนวปฏิบัติ ที่ส่งผลให้เกิดควำมแตกต่ำงกัน อันจะ
          เป็นกำรเลือกปฏิบัตินั้น จะต้องมีควำมสัมพันธ์กับสำเหตุแห่งกำรเลือกปฏิบัติ (Discrimination Grounds) ดังนั้น หำก
          กำรปฏิบัติที่พิพำทส่งผลให้เกิดควำมแตกต่ำงกัน แต่ไม่ปรำกฏว่ำควำมแตกต่ำงกันนั้นเกิดจำกสำเหตุแห่งกำรเลือกปฏิบัติ

          ที่กฎหมำยก�ำหนด ก็ยังไม่ถือว่ำเป็นกำรเลือกปฏิบัติตำมกฎหมำย อย่ำงไรก็ตำม ในคดีปกครองหลำยคดีผู้ฟ้องคดีมักจะ
          ฟ้องว่ำตนถูก “เลือกปฏิบัติโดยไม่เป็นธรรม” เนื่องจำกมีควำมแตกต่ำงกันเกิดขึ้นโดยกำรเปรียบเทียบกับบุคคลที่อยู่ใน

          สภำพเดียวกัน ซึ่งก็จะต้องพิจำรณำต่อไปว่ำ ควำมแตกต่ำงดังกล่ำวเกิดจำกเหตุแห่งกำรเลือกปฏิบัติ เช่น เชื้อชำติ ภำษำ
          เพศ ฯลฯ หรือไม่



                                                        262
   258   259   260   261   262   263   264   265   266   267   268