Page 257 - รายงานวิจัยฉบับสมบูรณ์ เรื่อง กฎหมายว่าด้วยความเสมอภาคและการไม่เลือกปฏิบัติ
P. 257

ส�ำนักงำนคณะกรรมกำรสิทธิมนุษยชนแห่งชำติ





             ประเทศ        กฎหมาย          การปฏิบัติที่   การปฏิบัติที่ไม่ต้อง  เกณฑ์การจ�าแนกระหว่างการ

                                          ต้องห้ามตาม      ห้ามตามกฎหมาย ปฏิบัติที่ต้องห้ามและไม่ต้องห้าม
                                            กฎหมาย                                   ตามกฎหมาย


          สิงคโปร์     รัฐธรรมนูญ /    กำรเลือกปฏิบัติ    กำรปฏิบัติที่      ศำลวำงเกณฑ์กำรพิจำรณำว่ำกำร
                       กำรตีควำมตำม (Discrimination)      แตกต่ำงกัน         ปฏิบัติที่แตกต่ำงกันกรณีใดจะ
                       ค�ำพิพำกษำศำล ที่ขัดต่อรัฐธรรมนูญ  (Differentiation)  เป็นกำรเลือกปฏิบัติ เช่น

                                                          ซึ่งไม่ขัดต่อ       กำรจ�ำแนกควำมแตกต่ำง
                                                          รัฐธรรมนูญ         ระหว่ำงบุคคลในกลุ่มหนึ่งกับบุคคล

                                                                             ที่อยู่นอกกลุ่มนั้น อยู่บนพื้นฐำน
                                                                             เหตุผลที่สำมำรถเข้ำใจได้หรือไม่
                                                                              กำรปฏิบัติที่แตกต่ำงกันนั้นมี

                                                                             ควำมสัมพันธ์กับวัตถุประสงค์ที่
                                                                             ต้องกำรบรรลุหรือไม่

                                                                             (ค�ำพิพำกษำ Public Prosecutor
                                                                             v. Taw Cheng Kong [1998] 2
                                                                             S.L.R.(R.) 489)



          ไทย          รัฐธรรมนูญ      กำรเลือกปฏิบัติโดย ไม่ได้ระบุค�ำไว้   รัฐธรรมนูญไม่ได้ก�ำหนดเกณฑ์
                       (๒๕๔๐/๒๕๕๐) ไม่เป็นธรรม            เฉพำะ              กำรพิจำรณำจ�ำแนกไว้อย่ำง

                                                                             ชัดแจ้ง ต้องพิจำรณำจำกแนว
                                                                             วินิจฉัยของศำล




                       นอกจำกนี้ ส�ำหรับกฎหมำยไทยนั้น ผู้วิจัยมีข้อสังเกตว่ำ มีกำรน�ำองค์ประกอบ “ไม่เป็นธรรม” มำ
          ประกอบกับค�ำว่ำ “กำรเลือกปฏิบัติ” ดังจะเห็นได้จำกค�ำว่ำ “กำรเลือกปฏิบัติโดยไม่เป็นธรรม” ถูกน�ำมำใช้ทั้งในบริบท
          ของกฎหมำยสิทธิมนุษยชน รัฐธรรมนูญ และบริบทของกฎหมำยปกครอง ส�ำหรับในบริบทกฎหมำยปกครองนั้น เห็นได้

          จำกพระรำชบัญญัติจัดตั้งศำลปกครองและวิธิพิจำรณำคดีปกครอง (มำตรำ ๙) ที่บัญญัติค�ำว่ำ “กำรเลือกปฏิบัติที่ไม่เป็น
          ธรรม” ไว้ และจำกกำรศึกษำค�ำพิพำกษำศำลปกครองพบว่ำ กำรตีควำมกำรเลือกปฏิบัติตำมแนวศำลปกครองมีควำม

          แตกต่ำงจำกกำรตีควำมกำรเลือกปฏิบัติตำมกฎหมำยสิทธิมนุษยชนระหว่ำงประเทศ โดยศำลได้วินิจฉัยว่ำกฎ ค�ำสั่งทำง
          ปกครองที่พิพำทนั้นเลือกปฏิบัติโดยไม่เป็นธรรม ในกรอบอย่ำงกว้ำง กล่ำวคือ ไม่จ�ำกัดแฉพำะเหตุแห่งกำรเลือกปฏิบัติ
          ตำมกฎหมำยสิทธิมนุษยชนระหว่ำงประเทศ เช่น เพศ เชื้อชำติ ศำสนำ ฯลฯ โดยในหลำยคดีศำลพิจำรณำประกอบกับ

          กำรใช้ดุลพินิจของเจ้ำหน้ำที่รัฐในกรณีนั้นว่ำมีกำรใช้ดุลพินิจที่มิชอบและเลือกปฏิบัติโดยไม่เป็นธรรม จึงอำจกล่ำวได้ว่ำ
          “กำรเลือกปฏิบัติที่ไม่เป็นธรรม” จะมีควำมหมำยและขอบเขตที่แตกต่ำงออกไปในบริบทของกฎหมำยปกครองเนื่องจำก
          กฎหมำยปกครองมีวัตถุประสงค์ตรวจสอบกำรใช้อ�ำนำจรัฐ ตลอดจน กฎ ค�ำสั่งทำงปกครองว่ำมีควำมชอบด้วยกฎหมำย

          หรือไม่ ในขณะที่กำรเลือกปฏิบัติในบริบทของกฎหมำยสิทธิมนุษยชนนั้นมุ่งคุ้มครองสิทธิมนุษยชนของกลุ่มบุคคลผู้ถูก





                                                        256
   252   253   254   255   256   257   258   259   260   261   262