Page 142 - รายงานผลการศึกษาวิจัย ฉบับสมบูรณ์ โครงการศึกษาวิจัยเพื่อการปรับปรุงแก้ไขนโยบายกฎหมายที่ละเมิดสิทธิมนุษยชนด้านที่ดินและป่า
P. 142

่
                                                                                     ั
                              2. ปรับหลักคิดกฎหมาย เพื่อให้กฎหมายปาไม้ใหม่ทันสมัยเป็นปจจุบัน จึงควรปรับเปลี่ยน
                                          ่
                       หลักคิดของกฎหมายปาไม้จากหลักการใช้อํานาจควบคุมบังคับห้าม/ให้ทําสิ่งต่าง ๆ มาเป็นหลักคิด
                                                                                                    ่
                       ทางการส่งเสริมสนับสนุนหรือกระตุ้นจูงใจให้ราษฎรเห็นคุณค่าความสําคัญของที่ดินและปา และ
                                                                        ้
                                                                                       ่
                       ร่วมมือกันสร้างกฎกติกาและขับเคลื่อนการทํางานเพื่อปกปองคุ้มครองที่ดินปาไม้และทรัพยากรให้มี
                       ความสมบูรณ์และเกิดประโยชน์แก่สังคม
                              3. การออกแบบโครงสร้างอํานาจในกฎหมายแบบมีส่วนร่วมในแนวราบมากขึ้น เสนอ

                                                         ่
                       ให้เน้นการมีส่วนร่วมของผู้ที่เกี่ยวข้องทุกฝายแบบพหุภาคี (Multi - stakeholders participation) มีการ
                                                                                ่
                       กําหนดบทบาทและอํานาจหน้าที่ของผู้ที่เกี่ยวข้องไว้ในกฎหมายปาไม้ให้ชัดเจน ทั้งกลุ่มองค์กร
                       ประชาชน องค์กรชุมชน องค์การปกครองส่วนท้องถิ่น ตลอดจนหน่วยงานรัฐด้านอื่น ๆ ในท้องถิ่นที่มี
                                                                  ่
                       บทบาทสําคัญในการดูแลรักษาและใช้ประโยชน์ปาตามหลักการพหุภาคี โดยควรจัดตั้งเป็นรูป
                       คณะทํางานหรือคณะกรรมการทุก ๆ พื้นที่ และจัดทําแผนยุทธศาสตร์ความร่วมมือเพื่อนําไปสู่การ

                       ทํางานร่วมกัน
                              4. ปรับโครงสร้างอํานาจและกลไกการตัดสินใจในการบริหารจัดการที่ดินป่าไม้ ควร
                       ปรับจากโครงสร้างจากบนตั้งแต่รัฐมนตรี อธิบดี ลงสู่เจ้าหน้าที่ผู้ปฏิบัติข้างล่าง มาเป็นกลไกแบบพหุ

                       ภาคีตามความเหมาะสมของแต่ละพื้นที่ โดยให้มีการเปิดเผยข้อมูลและข่าวสารให้ประชาชนรับรู้อย่าง
                                                                                                    ่
                       ทั่วถึง และควรกําหนดให้มีกลไกการเจรจาต่อรองและคลี่คลายข้อพิพาทขัดแย้งด้านที่ดินปาไม้ใน
                                          ่
                       ท้องถิ่นไว้ในกฎหมายปาไม้ เพื่อเปิดโอกาสให้ราษฎรและเจ้าหน้าที่ของรัฐตลอดจนองค์การปกครอง
                                                ั
                       ส่วนท้องถิ่นได้ทํางานจัดการปญหาร่วมกันให้ถึงที่สุด
                                                                                     ่
                              5. ปรับปรุงวิธีการกําหนดป่าเป็นพื้นที่อนุรักษ์ ทั้งในรูปแบบปาอุทยาน เขตรักษาพันธุ์
                            ่
                                      ่
                       สัตว์ปา หรือพื้นที่ปาไม้ถาวรรูปแบบใด ๆ ก็ตาม ให้มีความเหมาะสมสอดคล้องทั้งทางระบบนิเวศตาม
                       หลักเกณฑ์วิชาการที่เป็นสากลและสภาพทางสังคมวัฒนธรรมในพื้นที่นั้น ๆ การกําหนดเขตพื้นที่
                       อนุรักษ์ทับพื้นที่อาศัยทํากินของทั้งชุมชนและเป็นสาเหตุให้เกิดการละเมิดสิทธิมนุษยชน จึงเป็นความ

                       ผิดพลาดที่จําเป็นจะต้องแก้ไขโดยเร่งด่วน ที่ดินที่ตรวจสอบพิสูจน์แล้วว่ามีสิทธิมาก่อนการประกาศ
                                                                 ่
                       หรือเป็นชุมชนไปแล้ว ต้องเร่งรัดเพิกถอนสภาพปาโดยเร็วและนําแนวคิดการพัฒนาที่ยั่งยืนเข้าไป
                                                                                                         ่
                                             ่
                                                                                      ่
                       พัฒนาให้เป็นพื้นที่กันชนปาอนุรักษ์ และการเพิกถอนพื้นที่ไม่เหมาะสมเป็นปาอนุรักษ์ออกจากเขตปา
                                                                                            ่
                       อนุรักษ์ตามกฎหมาย และในกระบวนการตัดสินใจเชิงเทคนิคเช่นการจัดทําแนวเขตปา การพิสูจน์สิทธิ
                       ควรปรับเปลี่ยนอํานาจหน้าที่และกลไกการตัดสินใจที่เคยเป็นของกรรมการระดับชาติซึ่งไม่มีความรู้
                                             ั
                       ความเข้าใจในบริบทและปญหาในพื้นที่มาทําหน้าที่ในการกํากับนโยบายและทิศทางการทํางาน และ
                       สร้างและพัฒนากลไกการทํางานแบบมีส่วนร่วมของไตรภาคีประจําทุกพื้นที่คือองค์กรชุมชน องค์การ
                       ปกครองส่วนท้องถิ่น และหน่วยงานของรัฐร่วมกันตัดสินใจ
                                                                                 ่
                                                                        ่
                              6. การประกาศ/ขยายเขตป่า การประกาศ/ขยายปา พ.ร.บ.ปาสงวนแห่งชาติ มาตรา 6 และ
                                                               ่
                       7 อาศัยอํานาจรัฐมนตรีออกกฎกระทรวง ส่วนปาอนุรักษ์ พ.ร.บ.อุทยานแห่งชาติ มาตรา 6 และ 7
                                              ่
                       พ.ร.บ.เขตรักษาพันธุ์สัตว์ปา มาตรา 33 และ 34   ให้อํานาจคณะรัฐมนตรีออกพระราชกฤษฎีกา
                                               ่
                                                                 ั
                       ประกาศ/ขยาย/เพิกถอนเขตปา ซึ่งในทางปฏิบัติมีปญหาหลายประการ เช่น



                                                                                                      5‐70
   137   138   139   140   141   142   143   144   145   146   147