Page 98 - แด่ศักดิ์ศรีเสมอกันทุกชั้นชน : วรรณกรรมกับสิทธิมนุษยชนศึกษา
P. 98
วรรณกรรมกับสิทธิมนุษยชนศึกษา 97
บรรณานุกรม
ภาษาไทย
100 ปี มาลัย ชูพินิจ “ลูกเขียนถึงพ่อ” และ “เรื่องเล่าชาว 32 ป.ล. 2549. กรุงเทพฯ: กระท่อม ป.ล.
ขนิษฐา ณ บางช้าง. 2537. ระหว่างชีวิตของมาลัย ชูพินิจ. กรุงเทพฯ: ดํารงสิทธิ์.
ชาลี เอี่ยมกระสินธ์. 2516. ป่าและปืน. กรุงเทพฯ: แพร่พิทยา.
ทักษ์ เฉลิมเตียรณ. 2551. “นางเนรมิต: เทพธิดาอียิปต์, เรื่องเพศและความเพ้อฝันของผู้ชายในนวนิยายไทยยุค
แรก”. รัฐศาสตร์สาร. 29, 1(ม.ค.-เม.ย.):1-37.
ธนพล สาระนาค. 2550. ความฝันที่เป็นจริงของคุณหมอบุญส่ง. กรุงเทพฯ: ชมรมอาสาสมัครอุทยานแห่งประเทศไทย.
น้อย อินทนนท์ (มาลัย ชูพินิจ). 2514. ล่องไพร. พระนคร: ประพันธ์สาส์น.
น้อย อินทนนท์ (มาลัย ชูพินิจ). 2546. ทุ่งโล่งและดงทึบ. กรุงเทพฯ: กระท่อม ป.ล.
บุญเหลือ ย่องมณี. 2544. พัฒนาการนวนิยายชีวิตต่อสู้โลดโผนของไทยช่วง พ.ศ.2492 ถึง พ.ศ.2525.
วิทยานิพนธ์ปริญญาศิลปศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาภาษาไทย (กลุ่มวรรณคดี)
มหาวิทยาลัยมหาสารคาม.
พนมเทียน (ฉัตรชัย วิเศษสุวรรณภูมิ). 2514. เพชรพระอุมา. กรุงเทพฯ: ผ่านฟ้าพิทยา.
พิเชฐ แสงทอง. 2550. วาทกรรมวรรณกรรม. มหาสารคาม: สํานักพิมพ์มหาวิทยาลัยมหาสารคาม.
มนัส จรรยงค์. 2532. จับตาย: รวมเรื่องเอก. กรุงเทพฯ: สร้างสรรค์บุ๊คส์.
มนัส จรรยงค์. 2546. ป่าราบ. กรุงเทพฯ: เนชั่นบุ๊คส์ อินเตอร์เนชั่นแนล.
มนัส จรรยงค์ และคณะ. 2550. แขกในบ้านตัวเอง. กรุงเทพฯ: นาคร.
มนู จรรยงค์. 2550. หากินกับพ่อ. กรุงเทพฯ: มติชน.
วีระศักดิ์ จันทร์ส่งแสง. 2550. “100 ปี หมอรักษาไพร: นายแพทย์บุญส่ง เลขะกุล”. สารคดี. 23, 273 (พฤศจิกายน):
94-113.
สุภารัตน์ ศุภภัคว์รุจา. 2541. นวนิยายแนวผจญภัย: จากคิง โซโลมอนส์ ไมนส์ ล่องไพร ถึงเพชรพระอุมา (ภาค
หนึ่ง). วิทยานิพนธ์ปริญญาอักษรศาสตรมหาบัณฑิต ภาควิชาวรรณคดีเปรียบเทียบ บัณฑิตวิทยาลัย
จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.
สุวรรณา เกรียงไกรเพ็ชร์, บรรณาธิการ. 2547. มองข้ามบ่านักเขียน: เรื่องสั้นไทยในทัศนะนักวิจารณ์. กรุงเทพฯ:
ชมนาด.
อิศรา อมันตกุล. 2531. หัวเราะและน้ําตา. กรุงเทพฯ: บรรณกิจ.
ภาษาอังกฤษ
Irigaray, Luce. 1985. This Sex Which Is Not One. New York: Cornell University Press.
Kirby, Vicki. 2006. Judith Butler: Live Theory. New York: Continuum.