Page 44 - ภาษาเพศในสังคมไทย : อำนาจ สิทธิและสุขภาวะทางเพศ
P. 44

สวนที่ 1 เพศภาวะ: ขุนแผน  27

                                                      ขุนแผน



                                                        สุไลพร ชลวิไล







                               แบบฉบับของผูชายเจาชู

                                     “ขุนแผน” เปนชื่อตัวละครเอกในวรรณคดีไทย เรื่อง “ขุนชางขุนแผน”

                               เดิมเปนวรรณกรรมพื้นบานซึ่งมีเคาโครงจากเรื่องจริงที่เลาขานกันมาตั้งแตสมัย
                               อยุธยา ตอมาไดมีการรวบรวมขึ้นมาในสมัยตนรัตนโกสินทร วรรณกรรมเรื่องนี้
                               บอกเลาเรื่องราวเกี่ยวกับชีวิตการเปนนักรักและนักรบของขุนแผน โดยมีแกน

                               ของเรื่องอยูที่รักสามเสาระหวางขุนแผน ขุนชาง และนางวันทอง และนอกจาก
                               จะเปนชื่อของพระเอกในวรรณคดีแลว คําวา “ขุนแผน” ยังเปนคําที่ใชเรียก หรือ
                               ขนานนามผูชายที่เจาชูดวย ทั้งนี้นาจะมาจากบุคลิกลักษณะของความเปน
                               ขุนแผนที่เกงทั้งในเรื่องของการรบและเรื่องผูหญิง

                                     ถาดูจากวรรณคดีหรือวรรณกรรมไทยในสมัยกอน จะพบวาไมใชแตเพียง
                               ขุนแผนคนเดียวเทานั้นที่เจาชู พระเอกในวรรณคดีไทยเรื่องอื่นๆ เชน พระอภัยมณี
                               หรือ อิเหนา ก็ลวนแตมีภรรยามากกวาหนึ่งคนทั้งสิ้น เนื่องจากสังคมไทยในสมัย

                               โบราณมีคานิยมยกยองผูชายที่มีภรรยาหลายคนโดยถือวาจํานวนของภรรยาเปน
                               เครื่องหมายแหงความมีอํานาจบารมีของสามี ความมีเสนหดึงดูดเพศตรงขาม
                               “ความเจาชู” จึงถือเปนองคประกอบที่สําคัญของ “ความเปนพระเอกแบบไทยๆ”
                               อีกคุณสมบัติหนึ่งดวย นอกเหนือไปจากคุณสมบัติในเรื่องอื่นๆ อยางรูปราง

                               หนาตา ฐานะชาติตระกูล ความสามารถ ความกตัญูรูคุณ และมีคุณธรรม
                                     ในบรรดาพระเอกในวรรณคดีที่เจาชูทั้งหลาย “ขุนแผน” เปนตัวแทนของ
                               ผูชายที่เปนคนธรรมดาสามัญมากที่สุด ขณะที่พระเอกในวรรณคดีสวนใหญ

                               เปนเจานายหรือชนชั้นสูง นอกจากนี้ขุนแผนยังมีบุคลิกเปนคนจริงๆ ที่มีอารมณ
                               รัก โลภ โกรธ หลง ไมไดเปนคนดีอยูตลอดเวลา เหมือนพระเอกในวรรณคดี
                               หลายตอหลายเรื่อง ขณะเดียวกันขุนแผนก็ยังเปนตนแบบของ “ความเปนชายไทย


                                                        สุไลพร ชลวิไล
   39   40   41   42   43   44   45   46   47   48   49