Page 43 - ภาษาเพศในสังคมไทย : อำนาจ สิทธิและสุขภาวะทางเพศ
P. 43

26   ภาษาเพศในสังคมไทย: อํานาจ สิทธิ และสุขภาวะทางเพศ

                               ไดงายกวาผูหญิงที่รักเพศเดียวกัน ดวยเหตุนี้จึงทําใหตัวเลขของผูหญิงที่ยังโสด
                               ดูมีจํานวนมากขึ้น เพราะผูหญิงรักเพศเดียวกันจํานวนไมนอยเลือกที่จะยอมรับ
                               กับสังคมวาตนเองยังโสด ทั้งที่ในความเปนจริงอาจมีคูรักที่เปนเพศเดียวกันก็ได

                               เพื่อปดบังความเปนผูหญิงรักเพศเดียวกันเอาไว
                                     การที่สังคมมองผูหญิงขึ้นคานวา เปนผูหญิงที่ไมเคยมีประสบการณ

                               ทางเพศ หรือไมเกี่ยวของกับการมีเพศสัมพันธ (ทั้งกับผูชาย และผูหญิง) ยังสงผล
                               ตอภาวะสุขภาพทางเพศของผูหญิงเปนอยางมากอีกดวย ทั้งในแงของความ
                               ละเลยในการดูแลสุขภาพทางเพศของตนเอง (เพราะผูหญิงอาจคิดวาในเมื่อ
                               ตนเองไมมีเพศสัมพันธก็ยอมไมเสี่ยงตอโรคภัยไขเจ็บที่เกี่ยวกับระบบสืบพันธุ)

                               และในแงของความกลาที่จะเปดเผยเรื่องพฤติกรรมทางเพศของตนอยางตรงไป
                               ตรงมากับแพทย หากตนไมไดมีพฤติกรรมที่เปนไปตามทัศนคติ และ
                               ภาพลักษณในกรอบของผูหญิงโสดสูงวัยตามที่สังคมคาดหวัง มุมมองเชนนี้

                               ยอมสงผลโดยตรงตอการวินิจฉัยอาการของโรค และการรักษาของแพทย ทําให
                               ไมสามารถวินิจฉัยอาการของโรคไดอยางถูกตอง
                                     กลาวไดวาเมื่อถึงชวงอายุหนึ่งในชวงชีวิตของคน สังคมไทยตางก็
                               คาดหวังใหทั้งชาย และหญิงไดมีคู แตงงานกันเพื่อสืบทอดเผาพันธุ ขณะเดียวกัน

                               สังคมก็มีมาตรฐานการใหคุณคาที่ตางระดับกันระหวางผูชายโสด กับผูหญิงโสด
                               อยางเชนที่คานิยมและความคิดที่อยูเบื้องหนาและเบื้องหลังคําวา “ขึ้นคาน” ได
                               สะทอนใหเห็น โดยในภาษาไทยไมมีคําเรียกผูชายที่เปนโสดในเชิงเยาะเยยถาก

                               ถาง เหมือนอยางเชนคําที่ใชกับผูหญิง และไมวาผูหญิงจะพยายามตอรองดวย
                               การสรางคุณคาใหกับตนเองในดานตางๆ หรือพลิกกลับความหมายของคําๆ นี้
                               ใหมีความหมายในเชิงบวกมากขึ้นเพียงใด แตถึงที่สุดแลวทัศนคติ และคานิยม

                               ในสังคมระบอบชายเปนใหญ ก็ยังคงตีกรอบ ควบคุมผูหญิงใหตองเผชิญกับ
                               ความเครียด และความกดดันจากสํานวนนี้อยูตอไป รวมทั้งสงผลกระทบถึง
                               ภาวะสุขภาพของผูหญิงทั้งทางดานรางกาย และจิตใจอยางมากมายอยูดี








                                                         สุไลพร ชลวิไล
   38   39   40   41   42   43   44   45   46   47   48