Page 42 - ภาษาเพศในสังคมไทย : อำนาจ สิทธิและสุขภาวะทางเพศ
P. 42

สวนที่ 1 เพศภาวะ: ขึ้นคาน  25

                               เปนผูหญิงรักเพศเดียวกัน ยิ่งถาเปนผูหญิงที่อายุมากก็ยิ่งถูกจับตามองเปนพิเศษ
                               อีกวาจะตองคอยจองจะหลอกจับเด็กหนุมที่มีอายุ และมีประสบการณทางโลก
                               นอยกวา หรือไมก็ไมมีโอกาสในการเลือกคูมาก นอกจากจะตองรีบควาผูชาย

                               ที่ผานเขามามาเปนแฟน เพราะไมอยางนั้นก็อาจไมมีโอกาสเปนครั้งที่สองอีก
                                     ทัศนคติและมุมมองเชนนี้ แมบางอยางอาจเปนสิ่งที่พูดกันเลนๆ ไมจริงจัง

                               แตก็สะทอนใหเห็นถึงการควบคุมเรื่องเพศของผูหญิงเอาไวในเวลาเดียวกัน
                               ไมวาผูหญิงคนนั้นจะมีสถานภาพอยางไร หรือมีอายุเทาไรก็ตาม ผูหญิงทุกคน
                               ลวนอยูภายใตกรอบของความสัมพันธแบบผัวเดียวเมียเดียว และการแตงงาน
                               แบบรักตางเพศอยูดี โดยผูหญิงไมวาจะโสด ไมโสด หรือเลยวัยมีคูแลวก็ตาม

                               ถึงอยางไรก็ไมมีสิทธิมีเพศสัมพันธนอกสมรส ยิ่งถามีเพศสัมพันธแบบเปลี่ยนคู
                               ไปเรื่อย สังคมก็ยิ่งยอมรับไมได ตัวอยางอีกตัวอยางหนึ่งที่สะทอนใหเห็นได
                               อยางชัดเจนถึงการกักขังผูหญิงไวภายใตกรอบคิดเรื่องเพศที่ผูชายเปนใหญก็คือ

                               การที่กฎหมายบังคับใหผูหญิงที่แตงงานแลวตองเปลี่ยนมาใชคํานําหนาวา
                               “นาง” แทนคําวา “นางสาว” ในขณะที่คํานําหนาของผูชายไมวาจะแตงงานแลว
                                                                                         17
                               หรือยังไมแตงงานก็ใชคําๆ เดียววา “นาย” ไดตลอดโดยไมจําเปนตองเปลี่ยน
                               ซึ่งเทากับเปนการประกาศสถานภาพสมรสของผูหญิงใหทุกคนไดรับรูไปโดย

                               ปริยาย โดยไมเปดโอกาสใหเจาตัวมีสิทธิเลือกเลยวาตองการจะเปดเผยหรือไม
                               ทั้งที่เรื่องนี้เปนเรื่องของสิทธิสวนบุคคล
                                     มุมเดียวที่สังคมมองผูหญิงที่ขึ้นคานในแงบวกก็คือ การเปนผูหญิงขึ้นคาน

                               ถึงอยางไรก็ยังดีกวาเปนผูหญิงรักเพศเดียวกัน (ซึ่งก็อาจรวมถึงผูหญิงที่
                               เปนหมายดวย) เพราะผูหญิงที่ขึ้นคานอยางนอยๆ ก็ไมเคยผานผูชายคนไหน
                               มากอน และยังมีโอกาสเปลี่ยนสถานะมาเปนผูหญิงที่แตงงาน มีครอบครัว


                               17  ปจจุบันไดมีการแกไขพระราชบัญญัติคํานําหนานามบุคคล โดยในมาตรา 5 หญิงที่จดทะเบียน
                                 สมรสแลว จะใชคํานําหนานามวา “นาง” หรือ “นางสาว” ไดตามความสมัครใจ และมาตรา 6
                                 หญิงที่จดทะเบียนสมรสแลว และเปลี่ยนคํานําหนานามภายหลังการสมรสเปน “นาง” เมื่อ
                                 จดทะเบียนหยา จะใชคํานําหนานามวา “นาง” หรือ “นางสาว” ไดตามความสมัครใจ อยางไรก็ตามได
                                 มีความพยายามที่จะเสนอรางพระราชบัญญัติใหชายหรือหญิงที่ผาตัดแปลงเพศแลว โดยผานการ
                                 รับรองจากแพทย และมีอายุ 15 ปขึ้นไปเลือกใชคําวา “นางสาว” (ในกรณีของชายแปลงเพศ) หรือ
                                 “นาย” (ในกรณีของหญิงแปลงเพศ) ได แตรางพระราชบัญญัตินี้ไมผานการพิจารณา อนุมัติเปน
                                 กฎหมาย และกอใหเกิดเสียงวิพากษวิจารณในทํานองไมเห็นดวยอยางกวางขวาง

                                                        สุไลพร ชลวิไล
   37   38   39   40   41   42   43   44   45   46   47