Page 35 - ภาษาเพศในสังคมไทย : อำนาจ สิทธิและสุขภาวะทางเพศ
P. 35

18   ภาษาเพศในสังคมไทย: อํานาจ สิทธิ และสุขภาวะทางเพศ


                               จากคานธรรมดา มาสูมิสคานทอง


                                     คําวา “ขึ้นคาน” เปนคําที่ใชกันอยางแพรหลายกับผูหญิงทุกชนชั้น ไมวา
                               ผูหญิงคนนั้นจะยากดีมีจนแคไหน มีการศึกษาในระดับใด หรือนับถือศาสนาไหน
                               และก็ดูเหมือนวาผูหญิงไทยในยุคปจจุบันจะมีแนวโนมขึ้นคานกันมากขึ้นทุกทีๆ

                               ไมวาจะโดยตั้งใจ หรือไมตั้งใจก็ตาม เนื่องจากสภาพของสังคมที่เปลี่ยนแปลงไป
                               ทําใหผูหญิงสมัยใหมสามารถพึ่งพาตนเองในทางเศรษฐกิจไดมากขึ้น ซึ่ง
                               เปนผลมาจากการไดรับการศึกษา และการเขาถึงโอกาสดานการทํางานที่
                               เปดกวางมากขึ้น การแตงงานสําหรับผูหญิงไทยสมัยใหมถือเปนเรื่องของสิทธิ

                               และทางเลือก มากกวาจะเปนเรื่องของความจําเปนทางเศรษฐกิจ หรือถูกสังคม
                               บังคับอยางในสมัยกอน
                                     ในอดีตที่ผานมาผูหญิงไมมีโอกาสไดรับการศึกษาไมสามารถพึ่งพาตนเอง

                               ไดไมวาจะในทางเศรษฐกิจ หรือสังคมก็ตาม สําหรับผูหญิงที่อยูในชนบท นอก
                               เหนือไปจากเหตุผลในเรื่องการผลิตทายาทเพื่อสืบทอดวงศตระกูลแลว การ
                               แตงงานยังถือเปนเรื่องสําคัญสําหรับผูหญิง เพราะการแตงงานเปรียบไดกับการ
                               “เอาแรงเขาบาน” หรือเพิ่มแรงงานใหกับเศรษฐกิจระดับครัวเรือน เนื่องจาก

                               คานิยมของสังคมชนบทผูชายถูกคาดหวังใหทําหนาที่เปนผูนํา ชวยผูหญิงทํามา
                               หากิน และคุมครองดูแลทรัพยสิน เศรษฐกิจในบานของผูหญิงดวย ในขณะที่

                               สําหรับสังคมชนชั้นสูง การแตงงานสําหรับผูหญิงเกี่ยวของกับเรื่องของการ
                               เลื่อนชนชั้นฐานะ และการหาผูปกปองคุมครองดูแลทางดานสังคม ผูหญิง
                               ชนชั้นสูงสวนใหญไมมีโอกาสไดออกไปสัมพันธกับสังคมภายนอกเทาไรนัก
                               การแตงงานที่เกิดขึ้นโดยมากจึงเปนการแตงงานในลักษณะของการคลุมถุงชน

                               ที่พอแมหรือผูปกครองของผูหญิงเปนฝายตัดสินใจเลือกคูครองที่เหมาะสมให
                               ทั้งนี้เพราะผูหญิงมีคาเปนเพียงทรัพยสินของบิดามารดา หรือของสามีที่จะ
                               พิจารณายกใหใครก็ได ซึ่งเมื่อบวกเขากับคานิยมมีภรรยามากกวาหนึ่งคนของ

                               ผูชายไทยที่กฎหมายใหการรับรองแลว ก็ยิ่งทําใหผูหญิงไมมีทางเลือกมากนัก
                               กับการอยูโดยไมแตงงาน หรือมีโอกาสนอยมากที่จะอยูเปนโสดมาจนเลยวัยมีคู
                               หรือไมไดถูกขอไปเปนเมียใคร จึงไมแปลกที่คนในสมัยกอนจะมองผูหญิงที่


                                                         สุไลพร ชลวิไล
   30   31   32   33   34   35   36   37   38   39   40