Page 275 - ภาษาเพศในสังคมไทย : อำนาจ สิทธิและสุขภาวะทางเพศ
P. 275
264 ภาษาเพศในสังคมไทย: อํานาจ สิทธิ และสุขภาวะทางเพศ
มลฤดี ลาพิมล
นักกิจกรรม ผูจัดกระบวนการเรียนรูดานเอชไอวี/เอดส เพศภาวะ และเพศวิถี
นักวิจัยอิสระ จบปริญญาโทดานภาษาแตมาทํางานเรื่องเอชไอวี/เอดส เพศภาวะ
เพศวิถี และสุขภาพผูหญิง เคยทํางานเปนผูประสานงานภาคีความรวมมือในภูมิภาค
เอเชียตะวันออกเฉียงใตดานเพศภาวะ เพศวิถี และสุขภาพ ลาสุดทํางานวิจัยรวมกับ
โครงการจัดตั้งสํานักงานศึกษานโยบายสาธารณสุข สวัสดิการและสังคม มหาวิทยลัย
-มหิดล นอกจากนี้ยังเปนหนึ่งในผูรวมกอตั้ง “คณะทํางานเรื่องผูหญิงในงานเอดส”
คณะทํางานอิสระซึ่งเกิดจากการรวมตัวกันของผูหญิงที่สนใจในประเด็นเรื่องความ
เปนผูหญิงกับเอชไอวี/เอดสดวย
รณภูมิ สามัคคีคารมย
จบปริญญาโท สาขาสังคมศาสตรการแพทยและสาธารณสุข จาก
มหาวิทยาลัยมหิดล ปจจุบันเปนนักวิจัยประจําโครงการจัดตั้งสํานักงานศึกษา
นโยบายสาธารณสุข สวัสดิการและสังคม มหาวิทยาลัยมหิดล สนใจประเด็นเรื่อง
เพศวิถีของชายรักชาย ผลงานวิจัยลาสุดคือ เพศวิถีในสื่อนิยม กรณีศึกษาแคมฟร็อก
ชายรักชาย และไดคลุกคลีกับการทําวิจัยในประเด็นนี้มาตลอด อีกทั้งมีโอกาส
ไดทํางานในตําแหนงผูชวยผูประสานงานภาคีความรวมมือในภูมิภาคเอเชียตะวันออก-
เฉียงใตดานเพศภาวะ เพศวิถี และสุขภาพ รวมทั้งไดเปนสวนหนึ่งของกระบวนการ
อบรมในการสรางความตระหนักในเรื่องเพศภาวะ เพศวิถี และสิทธิทางเพศในกลุม
ผูมีความหลากหลายทางเพศหลายตอหลายครั้ง และมีผลงานบทความกึ่งวิชาการ
จํานวนไมนอยลงในหนังสือพิมพรายสัปดาห “สยามรัฐสัปดาหวิจารณ”
พิมพวัลย บุญมงคล, สุไลพร ชลวิไล, มลฤดี ลาพิมล, รณภูมิ สามัคคีคารมย