Page 21 - ภาษาเพศในสังคมไทย : อำนาจ สิทธิและสุขภาวะทางเพศ
P. 21

4   ภาษาเพศในสังคมไทย: อํานาจ สิทธิ และสุขภาวะทางเพศ

                               ถือวาผูหญิงไดตกเปนภรรยาของชายผูนั้นแลว คําวา “รักนวลสงวนตัว” แตเดิม
                               จึงอาจมีความหมายตรงตัวจริงๆ วาตองรักษาตัวเองไมใหชายใดมาสัมผัส
                               ถูกเนื้อตองตัวได หากในสมัยหลังเมื่อสังคมไทยรับเอาคานิยมวัฒนธรรมทางเพศ

                               จากตางชาติเขามา คําวา “รักนวลสงวนตัว” จึงถูกเชื่อมโยงกับการใหคุณคาใน
                               เรื่อง “พรหมจารี” ดวย และในยุคปจจุบันดวยสภาพทางสังคมที่เปลี่ยนไป การ
                               รับกระแสคานิยมเรื่องเพศภาวะ และเพศวิถีจากตะวันตก เชน การแตงกายที่

                               เผยใหเห็นถึงสัดสวนรูปราง การทักทายดวยการกอดและสัมผัส การที่ผูหญิงได
                               ออกมาแสดงบทบาทในพื้นที่สาธารณะมากขึ้น ทําใหผูหญิงและผูชายมีโอกาส
                               ไดพบปะทํากิจกรรมรวมกัน เรื่องการสัมผัสตัวกันระหวางหญิงชายก็ดูจะ
                               ผอนปรนมากขึ้น การรักนวลสงวนตัวจึงมักถูกเนนไปในประเด็นเรื่องของ

                               การรักษาความบริสุทธิ์กอนแตงงานของผูหญิงคอนขางมาก โดยเฉพาะผูหญิง
                               ที่ถูกจับตามองมากเปนพิเศษก็คือเด็กสาวที่กําลังอยูในวัยรุนซึ่งสังคมมองวา
                               ยังไมถึงวัยที่ควรจะมีเพศสัมพันธ

                                     ในทรรศนะของนักเขียนนักประวัติศาสตรอยางสุจิตต วงษเทศ คําวา
                               กุลสตรี รักนวลสงวนตัว พรหมจรรย พรหมจารี เปนคาถากํากับความเปน
                               ผูหญิงที่ถูกเผยแพร ดวยคติความเชื่อความคิดของชนชั้นนําไทยที่ยึดถือเอา
                               วิธีคิดเรื่อง “พรหมจารี” ซึ่งไดรับอิทธิพลของแนวคิดและคานิยมเรื่องเพศของ

                               ตะวันตกสมัยวิคตอเรียน ซึ่งเขามาในสยามสมัยรัชกาลที่ 4

                                           “พรหมจารีเปนของฝรั่ง ไมใชของไทยอยางที่เชื่อกันมา

                                     ขณะนี้ผูหลักผูใหญมักชอบพูดวา ประเพณีไทยแทแตโบราณ
                                     ผูหญิงทุกคนจะตองรักนวลสงวนตัว จะตองเปนสาวพรหมจารี
                                     แตใหสังเกตวา ประเพณีกวนขาวทิพยที่ตองใชหญิงพรหมจารี
                                     ก็ยังตองใชเด็กอายุต่ํากวา 12 ป ที่ยังไมมีประจําเดือน เพราะ

                                     คนโบราณรูวา เมื่อยางเขาสูวัยมีประจําเดือนชวงอายุ 13 ป
                                     เด็กจะเริ่มมีความรูสึกทางเพศ ฉะนั้นเด็กอายุ 13 ปจะมี
                                     พิธีกรรมเปลี่ยนเด็กเล็กเปนเด็กโต ถาในเอกสารจีนที่พบใน
                                     กัมพูชา เรียกวา “พิธีเบิกพรหมจรรย” เพื่อเปลี่ยนสถานะ

                                     จากเด็กสูสาว ทําขวัญเตรียมรับสถานการณ หรือ “พิธีลงขวง”


                                                         มลฤดี ลาพิมล
   16   17   18   19   20   21   22   23   24   25   26