Page 233 - ภาษาเพศในสังคมไทย : อำนาจ สิทธิและสุขภาวะทางเพศ
P. 233
218 ภาษาเพศในสังคมไทย: อํานาจ สิทธิ และสุขภาวะทางเพศ
อาชีพบริการ ซึ่งผูหญิงที่ถูกมองเชนนี้อาจถูกตัดสิน และเขาใจอยางผิดๆ
อีกดวยวาการพูดเรื่องเพศของพวกเธอ คือการทาทาย และเชิญชวนใหผูชายมี
เพศสัมพันธดวย
สําหรับคนรุนใหม โดยเฉพาะในโลกของการสื่อสารผานอินเทอรเน็ต
คําวา “หื่น” อาจฟงดูไมรุนแรงมากนัก ถาเทียบกับคําวา “หื่น” ในบริบทที่
หนังสือพิมพใช และไมไดเปนคําที่ใชเฉพาะกับเพศชายเทานั้น ในเว็บไซตที่ชื่อ
“สวนฯบอรดดอทเน็ต” ซึ่งเปนเว็บของเด็กโรงเรียนมัธยมชายลวนเว็บหนึ่ง
มีผูตั้งกระทูถามความคิดเห็นของคนในกระดานสนทนาวา
“ผูหญิงกับผูชาย ใครหื่นกวากัน”
5
คําตอบที่ออกมาสะทอนใหเห็นวาความ “หื่น” ซึ่งในที่นี้หมายถึง
การมีอารมณทางเพศ ไมไดเปนเรื่องของผูชายเทานั้น แตผูหญิงเองก็ “หื่น”
ไดเชนเดียวกัน เพียงแตอาจจะแสดงอาการออกมาแตกตางกันไป โดยผูชาย
จะแสดงอาการหื่นออกมาอยางเปดเผยกวาผูหญิง และนอกจากผูชายและ
ผูหญิงแลว ผูมีเพศภาวะและเพศวิถีอื่นก็ “หื่น” เปนเชนกัน
“ผูหญิงหื่นนอยหนอย ผูชายหื่นธรรมดา ตุดหื่นหนัก
6
กวา เกยหื่นโคตรๆ”
เด็กชายกึ้น SK 131
อยางไรก็ตามความหมายของคําวา “หื่น” เปนความหมายที่ก้ํากึ่งกัน
ระหวางการมีอารมณความปรารถนาทางเพศทั่วไป กับการมีอารมณทางเพศ
ประเภทที่ออกอาการไปคุกคามผูอื่น โดยทั่วไปสังคมคอนขางยอมรับวา
“ความหื่น” หรือ “การแสดงอารมณทางเพศ” ตามปกติเปนเรื่องธรรมดา หรือ
5 ไมปรากฏชื่อผูตั้งกระทู โพสตเมื่อ 25 ส.ค. 2550. <http://www.suanboard.net/view.php?p=
view&kid=40989>
6 เด็กชายกึ้น SK 131. โพสต เมื่อ 25 ส.ค. 2550.
สุไลพร ชลวิไล