Page 232 - ภาษาเพศในสังคมไทย : อำนาจ สิทธิและสุขภาวะทางเพศ
P. 232
บทที่ 4 เพศวิถี: หื่น 217
มีจิตใจวิปริต หรือมีอาการทางประสาท เพราะไมสามารถควบคุมอารมณเพศ
ของตนไดจนตองไปขมขืนผูอื่น การใชคําๆ นี้ในสื่อสะทอนใหเห็นถึงอํานาจของ
สื่อมวลชนในการใชถอยคําอยางปราศจากการควบคุม โดยถอยคําที่ใชนี้ยังชี้นํา
การตัดสินคุณคาของการกระทําบางอยางวา ดีหรือเลว ผิดหรือถูก โดยที่ผูถูก
ประณามดวยคําๆ นี้ไมมีทางตอบโต อีกทั้งยังเปนการสงผานความเขาใจผิด
เกี่ยวกับการขมขืนผานคําๆ นี้ วาผูขมขืนตองเปนผูที่มีจิตใจไมปกติ หรือไมก็
เปนผูหมกมุนในเรื่องเพศ (เพราะแสดงอาการหื่นออกมา) ทั้งที่จริงๆ แลวการ
ขมขืนอาจเกิดไดจากหลายสาเหตุ เชนเดียวกับที่ผูขมขืนก็มาจากหลายชนชั้น
เปนผูที่มีบุคลิกภาพที่หลากหลาย และสวนใหญไมไดมีอาการทางประสาท อีกทั้ง
ในความเปนจริงผูสื่อขาวเองก็ไมไดเปนผูที่อยูในเหตุการณเมื่อเกิดการขมขืน
แตกลับบรรยายเหตุการณราวกับวาตนเองอยูในที่เกิดเหตุ และจงใจเลือกใช
คําวา “หื่น” เพื่อตองการเนนใหผูอานไดจินตนาการตาม หรือเห็นภาพโดย
ไมใสใจกับผลที่ตามมาจากการเขียนขาวในลักษณะอยางนี้เปนตน
ความเขาใจผิดอีกประการหนึ่งที่สะทอนออกมาในเรื่องของการใชคําวา
“หื่น” ก็คือ การที่คําๆ นี้เปนคําที่ใชกับผูชายเปนหลัก ซึ่งแสดงถึงบรรทัดฐาน
คานิยมในเรื่องเพศของสังคมไทยวา ผูที่มีเพศภาวะชายเทานั้นที่จะแสดงความ
ตองการทางเพศ เปนฝายรุก หรือเปนผูกระทําทางเพศได ขณะที่ผูหญิงเอง
ไมควรแสดงความตองการทางเพศของตนเองออกมา ชุดคําที่อธิบายพฤติกรรม
“อยากมีเพศสัมพันธ” ของผูหญิง จะเปนคําที่ออกแนวเชิญชวนใหมีเพศสัมพันธ
ดวยมากกวาจะเปนคําที่บงบอกถึงการแสดงความตองการมีเพศสัมพันธ
อยางเชน คําวา เลนหูเลนตา ใหทา ออย หรือ ราน เปนตน
นอกจากนี้คําวา “หื่น” ยังสะทอนใหเห็นถึงเรื่องของเพศภาวะกับการใช
ภาษาอีกดวย โดยในขณะที่ผูชายกับพฤติกรรมการแสดงอารมณผานการใช
คําหยาบถูกมองเปนเรื่องปกติ แตผูหญิง (โดยเฉพาะผูหญิงชนชั้นกลาง และ
ผูหญิงที่ยังไมแตงงาน) กลับถูกกํากับและคาดหวังจากสังคมวาไมควรพูดคํา
ไมสุภาพ หรือคําที่เปดเผยถึงเรื่องเพศ หรือแสดงอารมณความตองการทางเพศ
ผูหญิงที่แสดงความปรารถนาทางเพศออกมาอยางเปดเผย หรือพูดถึงเรื่องเพศ
อยางเปดเผย จะถูกมองวาเปนผูหญิงที่ผานประสบการณการมีเพศสัมพันธ
มาแลว หรือเปนผูหญิงที่เชี่ยวชาญในเรื่องการมีเพศสัมพันธ เชน ผูหญิง
สุไลพร ชลวิไล