Page 229 - ภาษาเพศในสังคมไทย : อำนาจ สิทธิและสุขภาวะทางเพศ
P. 229
212 ภาษาเพศในสังคมไทย: อํานาจ สิทธิ และสุขภาวะทางเพศ
ทางเพศที่กําลังทําอยู แตในความเปนจริงแลวพวกเธอเปนเพียงภาพตัวแทน
ของ “ผูหญิง” ในจินตนาการทางเพศในแบบที่ผูชายอยากจะเห็น เพื่อใหผูชาย
ไดบรรลุถึงความพึงพอใจทางเพศเทานั้น มีหนังโปนอยมากที่คํานึงถึงอารมณ
ความรูสึกของผูหญิง หรือมุงที่จะเติมเต็มจินตนาการดานกามารมณของผูหญิง
สิ่งเหลานี้แสดงใหเห็นถึงความไมเทาเทียมทางเพศซึ่งมาจากความเชื่อ และ
คานิยมของสังคมที่มองวา ผูชายมีแรงขับทางเพศที่ตองการปลดปลอยมากกวา
ผูหญิง หรือถาดูจากสรีระแลว ผูชายถูกธรรมชาติสรางมาใหทําหนาที่เปนผูนํา
ในเรื่องเพศ ขณะที่ผูหญิงมีหนาที่ตองคอยเปนฝายรองรับ หรือตอบสนอง
อารมณทางเพศใหกับผูชาย จึงไมนาแปลกใจวาเพราะอะไรผูชายทั้งรักตางเพศ
และรักเพศเดียวกันจึงมีโอกาสเขาถึงความรู สํารวจจินตนาการทางเพศตนเอง
และหาประสบการณในเรื่องเพศไดงายกวาผูหญิง และความไมเทาเทียม
ทางเพศที่ดํารงอยูนี้เอง คือที่มาของปญหาทางเพศตางๆ มากมายที่มองไมเห็น
เรื่องของ “ความโป” และ “สื่อโป” จึงเปนตัวอยางของการตั้งคําถาม
ทาทายกรอบเรื่องเพศแบบเดิมๆ และชวนใหผูคนไดเปดใจมองเรื่องตองหามนี้
อยางเปดกวาง เรียนรู และลองจินตนาการไปถึงรูปแบบของความตองการทางเพศ
กิจกรรมทางเพศที่แตกตาง แคเพียงเปลี่ยนมุมมองใหม มอง “สื่อโป” ในมุม
ของสื่อเพื่อการเรียนรูและสรางสรรคบาง แทนที่จะมองเปนสื่อตองหาม ยอมรับ
ใหมีทั้งสื่อโปสําหรับคนทุกเพศ ทุกรสนิยม ถาเปนเชนนั้นไดสังคมคงจะคลาย
ความกดดันในเรื่องเพศลงไปบาง เกิดความเขาใจในระหวางเพศที่แตกตาง
และยอมรับในความหลากหลายทางเพศมากยิ่งขึ้นกวานี้
สุไลพร ชลวิไล