Page 238 - ภาษาเพศในสังคมไทย : อำนาจ สิทธิและสุขภาวะทางเพศ
P. 238

บทที่ 4 เพศวิถี: เรื่องเพศ  223

                                                     เรื่องเพศ



                                                       มลฤดี ลาพิมล







                               เรื่องเพศ: ภาษากับการสถาปนาอํานาจ

                                     กลาวไดวาคําในภาษาไทยที่มีปญหาในการใชและการใหความหมาย

                               มากที่สุดคําหนึ่งในปจจุบันก็คือ คําวา “เพศ” ทั้งนี้เพราะคําวาเพศซึ่งมีที่มาจาก
                               คําในภาษาบาลี (ป.เวส) และภาษาสันสกฤต (ส.เวษ) นั้น เปนคําที่มีความหมาย
                               กวางขวาง กินความตั้งแตเรื่องของความแตกตางระหวางผูหญิงและผูชาย

                               ในทางสรีระ ไปจนถึงเรื่องของอารมณ ความรูสึก ความปรารถนา ความเปนชาย
                               ความเปนหญิง ตลอดจนกิจกรรมและพฤติกรรมทางเพศ
                                     ในการพยายามที่จะกําหนดนิยามความหมาย หรือคําจํากัดความคําวา
                               “เพศ” คณะกรรมการชําระปทานุกรมเมื่อป พ.ศ. 2527 ไดมีการนําคําวา “เพศ”

                               มาอภิปรายกันอยูหลายวาระ เนื่องจากนิยามของคําวา “เพศ” ตามพจนานุกรม
                               ฉบับราชบัณฑิตยสถาน พ.ศ. 2525 มีความหมายวา น. รูปที่แสดงใหรูวาหญิง
                               หรือชาย; (ไว) ประเภทคําในบาลีและสันสกฤตเปนตน, ตรงกับ ลิงค หรือ

                               ลึงค.” นิยามที่วา “รูปที่แสดงใหรูวาหญิงหรือชาย” ไดทําใหเกิดขอถกเถียง
                               เกี่ยวกับความหมายของคําวา “รูป” ในที่สุดที่ประชุมจึงมีมติใหปรับปรุงแกไข
                               บทนิยามของคําวา “เพศ” ขึ้นใหม โดยคํานิยามใหมของคําวา “เพศ”  มีความ

                               วา “น. รูปลักษณะที่แสดงใหรูวาเปนหญิงหรือเปนชาย ในคําวา สตรีเพศ
                               บุรุษเพศ, รูปลักษณะของสัตวที่แสดงใหรูวาเปนตัวผูหรือตัวเมีย ในคําวา
                               เพศผู เพศเมีย, รูปลักษณะที่แสดงใหรูวาแตละพวกมีแนวปฏิบัติ
                               อยางเดียวกัน เชน สมณเพศ คิหิเพศ เพศคฤหัสถ เพศบรรพชิต; (ไว)
                               ประเภทคําในบาลีและสันสกฤตเปนตน, ตรงกับ ลิงค หรือ ลึงค.”
                                     แมจะไดปรับปรุงบทนิยามใหกวางขวางและครอบคลุมความหมาย
                               ไดมากขึ้น ก็ยังคงมีปญหาอยูเชนเดิม เพราะขอบเขตความหมายของคําที่



                                                        มลฤดี ลาพิมล
   233   234   235   236   237   238   239   240   241   242   243