Page 228 - ภาษาเพศในสังคมไทย : อำนาจ สิทธิและสุขภาวะทางเพศ
P. 228
บทที่ 4 เพศวิถี: โป 211
ชานานแลว นอกจากนั้นยังเปนบทเรียนสอนเพศศึกษาแบบสมจริงใหกับเยาวชน
ไดเปนอยางดี ถามีผูใหญคอยอธิบาย และคอยใหคําแนะนําในทางที่เปน
ประโยชน เยาวชนชายหลายคนกลาววาหนังโปสอนใหพวกเขาเขาใจถึงประโยชน
และวิธีการใชถุงยางอนามัยไดดีกวาการเรียนในหองเรียน และไดรับคําตอบใน
เรื่องเพศที่สงสัยแตไมกลาถามครูหรือใครๆ เพราะอาย และไมใชแตเยาวชน
เทานั้น ผูใหญทั้งชายและหญิงหลายคน ไมวาจะเปนบุคคลรักตางเพศ หรือ
รักเพศเดียวกัน ก็ไดเรียนรูประสบการณทางเพศที่หลากหลายจากสื่อเหลานี้มา
แลวเชนกัน รวมถึงสามารถใชสื่อเหลานี้ในการสรางจินตนาการทางเพศ และ
ปฏิบัติการ “ชวยตัวเอง” ใหมีความสุขทางเพศไดอยางปลอดภัย ไมตองไปซื้อ
บริการทางเพศ หรือมีเพศสัมพันธกับผูอื่นใหเสี่ยงตอโรคติดตอทางเพศสัมพันธ
ตางๆ ดวย
ในสังคมที่มองเรื่องเพศในเชิงลบ มองเรื่องเพศวาเปนเรื่องที่ตองปกปด
แตขณะเดียวกันคนในสังคมกลับหลบๆ ซอนๆ บริโภคสื่อโปกันอยางแพรหลาย
เพศสัมพันธที่ไมไดเกิดขึ้นพรอมกับความรัก และมีเปาหมายเพื่อการมีความสุข
ทางเพศ ไมใชเพื่อการสืบพันธุ ถูกมองวาเปนเพศสัมพันธที่มีคุณคาดอยกวา
เพศสัมพันธในสถาบันการแตงงาน สถาบันการมีครอบครัว ยิ่งรูปแบบของ
เพศสัมพันธนั้นไมใชเพศสัมพันธแบบสอดใสตามแบบ “ปกติ” ดวยแลว (ไดแก
การมีเพศสัมพันธกับเพศเดียวกัน การใชปาก การชวยตัวเอง การมีเพศสัมพันธ
ทางทวารหนัก การมีเพศสัมพันธกับคนมากกวาหนึ่งคนขึ้นไปในเวลาเดียวกัน
การมีเพศสัมพันธที่ชอบความเจ็บปวด ฯลฯ) ก็จะยิ่งไมไดรับการยอมรับมากขึ้น
ไปอีก แมวาเพศสัมพันธนั้นจะเกิดขึ้นดวยความยินยอมพรอมใจของผูที่
ประกอบกิจกรรมทางเพศก็ตาม “สื่อโป” ตางๆ (สําหรับทั้งบุคคลรักตางเพศ
และสําหรับคนรักเพศเดียวกัน) เปดทางใหกับเพศสัมพันธนอกกรอบเหลานี้ไดมี
พื้นที่ปรากฏอยูในสังคม และไดชวยใหคนจํานวนมากไดเติมเต็มจินตนาการ
ทางเพศ รวมถึงไดปลดปลอยความตองการทางเพศของตน โดยไมทําใหพวกเขา
รูสึกวาตนเองแปลกแยกแตกตางจากคนอื่น เพราะเพศวิถีนอกกรอบของตน
อยางไรก็ดี “สื่อโป” ที่ถูกผลิตออกมาสวนใหญ ยังคงเนนไปที่การ
ตอบสนองความสุขความพึงพอใจทางเพศของผูชายเปนหลัก ถามองอยาง
ไมคิดอะไร อาจเชื่อวาผูหญิงที่อยูในสื่อโปเหลานี้กําลังมีความสุขกับกิจกรรม
สุไลพร ชลวิไล