Page 237 - ภาษาเพศในสังคมไทย : อำนาจ สิทธิและสุขภาวะทางเพศ
P. 237

222  ภาษาเพศในสังคมไทย: อํานาจ สิทธิ และสุขภาวะทางเพศ

                               เพศภาวะกับการใชคํา ที่ในดานหนึ่งเปนคําดาวาผูชาย แตในอีกดานหนึ่งใน
                               กลุมผูชายเองก็กลับสามารถยอมรับ และใชคํานี้ไดอยางเปนปกติธรรมดา
                               และใชคําๆ นี้ในการสื่อความหมายอยางชัดเจนตรงไปตรงมาถึงการมี

                               ความตองการทางเพศ ขณะที่ผูหญิงยังคงถูกสังคมตีกรอบใหไมกลาแสดงออก
                               ถึงความตองการทางเพศ แมแตในการพูด หรือการใชภาษาอยูตอไป สังเกต

                               ไดจากการที่แทบจะไมมีคําใดเลยที่บงบอกถึงการแสดงความตองการทางเพศ
                               ของผูหญิง และสําหรับผูที่มีตัวตนทางเพศภาวะ และเพศวิถีแบบอื่นนอกเหนือ
                               ไปจากชายหญิง อยางเกย ทอม และกะเทย การใชคําๆ นี้ก็เปนคําที่ค้ําจุนอคติ
                               ทางเพศตอคนเพศภาวะอื่นใหยังคงดํารงอยูตอไป ภายใตความเชื่อเรื่องเพศ

                               ในระบอบชายเปนใหญที่ยอมรับแตความสัมพันธระหวางรักตางเพศในสถาบัน
                               การแตงงานแบบผัวเดียวเมียเดียว โดยไมไดมองใหเห็นถึงความแตกตาง
                               ในดานเพศภาวะ เพศวิถีที่หลากหลายของคนแตละกลุมแมแตนอย






































                                                         สุไลพร ชลวิไล
   232   233   234   235   236   237   238   239   240   241   242