Page 227 - ภาษาเพศในสังคมไทย : อำนาจ สิทธิและสุขภาวะทางเพศ
P. 227

210  ภาษาเพศในสังคมไทย: อํานาจ สิทธิ และสุขภาวะทางเพศ

                                     ศ.ดร.นิธิ เอียวศรีวงศ นักประวัติศาสตรและคอลัมนิสตที่ยอมรับวาตนเอง
                               ก็เปนเชนเดียวกับผูชายไทยจํานวนมากอีกหลายๆ คนที่ใชประโยชนจากสื่อโป
                               เขียนถึงสื่อโปไววา

                                     สื่อโปเปนสื่อที่ถูกใชเพื่อเสริมสรางจินตนาการทางเพศของแตละคน
                               เมื่อเสริมแลวจะนําไปสูการละเมิดสิทธิผูอื่น หรือถูกใชไปในวิถีทางที่ถูกตัดสิน

                               วา “กามวิปริต” หรือไม เปนอีกเรื่องหนึ่ง ซึ่งเกี่ยวของกับเหตุปจจัยทางจิตวิทยา
                                               11
                               ที่ซับซอนไปกวาตัวสื่อ

                                           “คนสวนใหญ (รวมทั้งชายสูงอายุใน ครม. ดวย) เห็น
                                     สื่อลามกเหลานี้แลว ไมยักกะคิดจะไปขมขืนกระทําชําเราใคร

                                     นี่ครับ”


                                     ในมุมที่เกี่ยวของกับเรื่องสุขภาวะทางเพศ หญิงสาวที่แตงตัวเซ็กซี่ ขัด
                               กับคานิยมวัฒนธรรมที่ดีตามแบบแผน “ประเพณีไทย” อาจแครูสึกภาคภูมิใจ
                               ในสัดสวนรูปรางของตนเอง คงไมมีใครคิดวาตนเองจะแตงตัวเพื่อไปยั่วผูชายให
                               ฉุดไปขมขืนแน แตเพราะความเชื่อที่ถูกรองรับดวยชุดคําอธิบายทางจิตวิทยาที่

                               วาผูชายมีแรงขับทางเพศที่ไมสามารถควบคุมได ตองหาทางระบาย หรือ
                               ปลดปลอย สงผลใหผูหญิงตองติดอยูในกับดักอํานาจของระบอบชายเปนใหญ
                               ตองคอยระมัดระวังตนเอง ไมกลาแตงตัวตามใจตองการ หรือไมสามารถไปไหน

                               มาไหนตามลําพังได หวาดระแวงกลัวจะถูกขมขืน ถูกมองเปนผูหญิงไมดี ใน
                               กรณีของผูหญิงที่แตงงานหรือมีคูแลว สามีหรือคูอาจแสดงความไมพอใจที่เห็น
                               ผูหญิงแตงตัวโป หรือใชกําลังกระทําความรุนแรงตอผูหญิงดวยเหตุแหงความ
                               หึงหวงก็มี

                                     ในประเด็นเรื่องของ “สื่อโป” ที่เกี่ยวของกับแงมุมสุขภาวะทางเพศ หาก
                               จะมองในทางสรางสรรค จะเห็นวา “สื่อโป” ไดทําหนาที่เสริมสรางจินตนาการ
                               ทางเพศ และปลดปลอยอารมณความรูสึกที่ถูกเก็บกดใหกับผูคนมาเปนเวลา



                               11  นิธิ เอียวศรีวงศ. “รัฐบนเตียงนอน” ใน มติชนสุดสัปดาห ปที่ 27 ฉบับที่ 1406 27 ก.ค.-2 ส.ค.
                                 2550 หนา 91-92.

                                                         สุไลพร ชลวิไล
   222   223   224   225   226   227   228   229   230   231   232