Page 208 - ภาษาเพศในสังคมไทย : อำนาจ สิทธิและสุขภาวะทางเพศ
P. 208

บทที่ 4 เพศวิถี: กิ๊ก  191

                                     5.  หามใชกิ๊กรวมกันกับเพื่อน
                                     6.  ถากิ๊กคิดจะไปมีแฟนเปนตัวตนโดยไมใชเรา หามฟูมฟายแตตอง
                                         พยายามยอมรับและยินดีดวย แลวคอยตกลงกันอีกทีวาจะยังกิ๊ก

                                         กันตอรึเปลา
                                     7.  ไมจําเปนตอง Take care กันเกินเหตุ เพราะ เปนแคกิ๊ก
                                     8.  กิ๊กมีไดไมจํากัดจํานวนเปน Infinity ไมจํากัดเพศ วัย และ สถานภาพ

                                     9.  กิ๊กสําคัญรองจากแฟน
                                     10.  กิ๊กยังไงก็เปนกิ๊กตองเจียมตัว (ถาแฟนเขาจับไดตองเลิก)

                                     นิยามสั้นๆ ของคําวา “กิ๊ก” จากรายงานวิจัยฉบับนี้คือ “กิ๊กเปนมากกวา

                               เพื่อน แตไมใชแฟน และกิ๊กไมใชชู แตถาแฟนรูตองเลิก” อยางไรก็ตามใน
                               รายงานฉบับนี้ยังกลาวดวยวา รูปแบบของความสัมพันธในลักษณะที่มีความรูสึก
                               พิเศษ ผูกพันกัน คิดถึงกัน แตไมใชแฟนกันนี้มีมานานแลว โดยในแตละยุคสมัย

                               ก็จะมีคําจํากัดความที่ใชระบุถึงสถานะความสัมพันธนี้แตกตางกันไป เชน ใน
                                                4
                                                               5
                               สมัยกอน เรียก “เด็ก”  ตอมาเรียก “โปร”   จนมาในปจจุบันคําที่ไดรับความ
                               นิยม และติดหูมากที่สุดก็คือคําวา “กิ๊ก”
                                     หลังจากรายงานชิ้นนี้ออกมา ทําใหเกิดกระแสการพูดถึงคําวา “กิ๊ก”

                               อยางกวางขวาง จนกระทั่งพจนานุกรมที่รวบรวมคําศัพทภาษาไทย ซึ่งตีพิมพ
                               ออกมาในชวงเวลาหลังๆ ยังตองบรรจุคําๆ นี้ลงในพจนานุกรมดวย ตัวอยางเชน
                                                                                      7
                                                 6
                               พจนานุกรมฉบับมติชน  และพจนานุกรมคําใหม ฉบับราชบัณฑิตยสถาน  และ

                               4   ในแนวทางการจัดทําพจนานุกรมคําคะนอง (กรมวิชาการ, อางแลว) ไดใหความหมายของคําวา
                                 “เด็ก” ไววา เปนคําเรียกหญิงสาวที่เปนคูรักของชาย [เปรียบกับเด็ก หมายถึงผูที่มีอายุนอย] เชน
                                 เมื่อวานเราเห็นนายหนีเรียนไปเที่ยวกับเด็ก.
                               5   เขาใจวานาจะตรงกับความหมายของคําวา “โปร” (๒) ซึ่งในพจนานุกรมคําใหม เลม ๑ ฉบับราช-
                                 บัณฑิตยสถาน ใหความหมายไววา หมายถึง ก.ชอบมาก เชน เจานายโปรลูกนองคนนี้มาก แตใน
                                 คอลัมน “แกะรอยศัพทโจภาษาไทย 2002” (หนาประชาชื่น ของหนังสือพิมพมติชนรายวัน ฉบับ
                                 ประจําวันที่ 17 เมษายน 2545) อธิบายวา โปร ยอมาจากภาษาอังกฤษวา “ โปรเจคท”  (project)
                                 หมายถึง คนที่เราแอบชอบ ประมาณวาเราวางโครงการกับคนนี้ไว <http://www.matichonbook.
                                 com/newsdetail.php?gd=44614>
                               6   สํานักพจนานุกรม มติชน (รวบรวม). พจนานุกรมฉบับมติชน กรุงเทพฯ: ศิลปวัฒนธรรม, 2547.

                                                        มลฤดี ลาพิมล
   203   204   205   206   207   208   209   210   211   212   213