Page 212 - ภาษาเพศในสังคมไทย : อำนาจ สิทธิและสุขภาวะทางเพศ
P. 212

บทที่ 4 เพศวิถี: กิ๊ก  195

                               ที่ใหไว คําที่แสดงถึงความสัมพันธที่สังคมยอมรับสวนใหญจะไดรับการอธิบาย
                               ภายใตกรอบความสัมพันธแบบรักตางเพศของชายกับหญิง และระบบผัวเดียว
                               เมียเดียวทั้งสิ้น เชน



                                           สามี น. ผัว, ชายที่เปนคูครองของหญิง, คูกับ ภรรยา
                                     หรือ ภริยา; นาย, เจาของ (ป.; ส . สฺวามินฺ)

                                           ภรรยา น. ภริยา, เมีย, หญิงที่เปนคูครองของชาย, คู
                                     กับ สามี. (ส.ภารฺยา; ป.ภริยา).
                                           คูรัก น. หญิงชายที่ผูกสมัครรักใครกัน. คนรัก.
                                                       10
                                           แฟน (ปาก) น.  ผูเปนที่ชอบพอรักใคร, คูรัก, สามี
                                     หรือภรรยา.


                                     สวนคําที่แสดงถึงพฤติกรรมทางเพศนอกกรอบ นอกจากคําวา “ชู”

                               ซึ่งเปนคําเกา และมีสํานวนเกี่ยวของกับคําหลายสํานวนแลว คําอยาง คูควง
                               คูนอน ก็ไมไดถูกบรรจุไวในพจนานุกรมแตอยางใด เวนแตคําวา “คูขา”  ซึ่ง
                               ภายหลังในพจนานุกรมคําใหม ฉบับราชบัณฑิตยสถานไดใหความหมาย
                               เพิ่มเติม (นอกจากความหมายแรกในเชิงคูแสดง หรือคูเลนที่เขากันไดดี) ไววา

                               หญิงชายที่คบกันฉันชูสาว เชน ใครๆ ก็รูวา 2 คนนี้เปนคูขากันมานานแลว
                                     ในบรรดาคําตางๆ เหลานี้คําวา ผัว เมีย และ ชู ดูจะเปนคําที่เกาแกที่สุด
                               และมีมาตั้งแตสมัยที่การมีภรรยาหลายคนของผูชายยังเปนสิ่งที่ถูกกฎหมาย ที่

                               นาสนใจคือ คําวา ชู นั้นเปนคําที่มีความหมายคอนขางซับซอน และเปนคําที่ใช
                               กับทั้งผูชายและผูหญิง แตใชในลักษณะที่แตกตางกัน กลาวคือ ในกรณีที่ใช
                               เปนคํานาม จะหมายถึงตัวผูชายที่ไป “เปนชู”  กับผูหญิงที่มีสามี หรือมีคูแลว

                               สวนในกรณีที่เปนคํากริยา จะหมายถึง การที่ผูหญิง “มีชู”  หรือมีเพศสัมพันธกับ
                               ชายอื่นนอกจากสามีของตน ฟงดูเผินๆ ทั้งสองคํา ลวนแตเปนคําที่มีความหมาย
                               ในเชิงลบไมแตกตางกัน แตถาหากมองจากมุมเรื่องเพศภาวะและเพศวิถี



                               10   ในที่นี้ยกมาแตเฉพาะความหมายที่เกี่ยวของกับความสัมพันธเชิงชูสาว ไมรวมถึงความหมายในแง
                                 ของการเปนผูนิยมชมชอบในสิ่งตางๆ เชน แฟนเพลง แฟนภาพยนตร แฟนมวย.

                                                        มลฤดี ลาพิมล
   207   208   209   210   211   212   213   214   215   216   217