Page 211 - ภาษาเพศในสังคมไทย : อำนาจ สิทธิและสุขภาวะทางเพศ
P. 211

194  ภาษาเพศในสังคมไทย: อํานาจ สิทธิ และสุขภาวะทางเพศ

                                     นอกจากเหตุผลในแงของการเกิดคําใหมสําหรับนิยามความสัมพันธที่
                               ซับซอนของคนแลว อีกเหตุผลหนึ่งที่ทําใหคําวา “กิ๊ก” กลายเปนคําศัพทแสลง
                               ที่ฮอตฮิตภายในชั่วพริบตา ก็คือเรื่องของความหวงกังวลทางสังคมเกี่ยวกับ

                               คานิยมและพฤติกรรมการมีกิ๊กของวัยรุน ทั้งนี้เพราะคานิยมในการมีกิ๊ก ไดทาทาย
                               ระบบคิดในเรื่องเพศภายใตกรอบการแตงงานแบบผัวเดียวเมียเดียว หรืออุดมคติ

                               เรื่องรักแท คูแท หรือรักเดียวใจเดียว ซึ่งเปนอุดมการณหลักของสังคม โดยผูที่
                               ยึดมั่นในระบบเพศวิถีภายใตอุดมการณหลักดังกลาว จะหวาดกลัววา คานิยม
                               เรื่องการมีกิ๊กของวัยรุน จะนํามาซึ่งปญหาในเรื่องเพศตางๆ อีกมากมาย ไมวา
                               จะเปนปญหาเรื่องการมีเพศสัมพันธในวัยเรียน การทองไมพรอม การทําแทง

                               รวมถึงโอกาสเสี่ยงตอการรับเชื้อโรคติดตอทางเพศสัมพันธตางๆ ไปจนกระทั่งถึง
                               เอชไอวี/เอดส
                                     การใหคําจํากัดความของคําวากิ๊กในงานวิจัยและในพจนานุกรมตางๆ

                               ที่กลาวมา ไดสะทอนใหเห็นถึงระบบคิดในเรื่องเพศภาวะและเพศวิถีของ
                               สังคมไทย ไมวาจะเปนเรื่องของความสัมพันธระหวางหญิงชาย (ทั้งเรื่องจํานวนคู
                               ระดับของความสัมพันธ หรือการทําความเขาใจ การตกลงในกฎเกณฑ
                               ความสัมพันธรวมกัน) และเรื่องของความรักและเพศสัมพันธ (รักเดียวใจเดียว

                               ผัวเดียวเมียเดียว มีเพศสัมพันธกอน หรือหลังแตงงาน)


                               จาก “แฟน” และ “ชู” สู “กิ๊ก”: ความไมเทาเทียมและวิถีเพศ


                                     ดังที่ไดกลาวมาแลววา กอนที่จะปรากฏคําวา “กิ๊ก” สังคมไทยมีคํา
                               อธิบายถึงรูปแบบความสัมพันธในเชิงชูสาวของคนอยูไมกี่คํา ซึ่งอาจแบงงายๆ

                               ไดเปนคําที่แสดงถึงความสัมพันธที่สังคมยอมรับ กับคําที่เปนคําในเชิงตําหนิผูที่มี
                               พฤติกรรมทางเพศเชนนั้น
                                     คําที่แสดงถึงความสัมพันธในเชิงชูสาวที่สังคมยอมรับ ไดแก คําวา

                               ผัว เมีย สามี ภรรยา คูรัก แฟน สําหรับคําที่มีนัยไปในเชิงลบ และแสดงถึง
                               การมีพฤติกรรมที่สังคมไมยอมรับ เชน คําวา ชู คูควง คูขา คูนอน เปนตน
                               ซึ่งถาหากดูจากความหมายในพจนานุกรมฉบับราชบัณฑิตยสถาน พ.ศ. 2542


                                                         มลฤดี ลาพิมล
   206   207   208   209   210   211   212   213   214   215   216