Page 206 - ภาษาเพศในสังคมไทย : อำนาจ สิทธิและสุขภาวะทางเพศ
P. 206
บทที่ 4 เพศวิถี: กิ๊ก 189
กิ๊ก
มลฤดี ลาพิมล
กิ๊ก: ภาษาของความสัมพันธและวัฒนธรรมทางเพศ
ในบรรดาคําศัพทใหมๆ ที่เกี่ยวของกับคานิยมทางเพศ อาจกลาวไดวา
ไมมีคําใดจะโดดเดน และเปนที่รูจักมากไปกวาคําวา “กิ๊ก” อีกแลว ยอนหลังไป
เมื่อเกือบสิบปกอน “กิ๊ก” เปนศัพทแสลงของวัยรุน ที่มีความหมายวา นารัก
1
นาเอ็นดู (มาจากคําวา “คิก” ซึ่งเปนเสียงหัวเราะที่นาเอ็นดูของเด็กสาววัยรุน)
แตในปจจุบันเมื่อพูดถึงคําวา “กิ๊ก” คนสวนใหญจะนึกถึงความหมายคลายๆ
กับที่ปรากฏในพจนานุกรมคําใหม ฉบับราชบัณฑิตยสถานมากกวา คือ
กิ๊ก น. เพื่อนสนิทตางเพศซึ่งอาจจะมีความสัมพันธ
ฉันชูสาว เชน นายแอบไปมีกิ๊ก ระวังแฟนจับไดจะมีเรื่อง.
ก. มีความสัมพันธฉันชูสาว เชน เขากิ๊กอยูกับดาราคนหนึ่ง
2
และกับนักรองอีกคนหนึ่ง
โดยความหมายใหมนี้มีที่มาจากรายงานการศึกษาเชิงวิจัยชิ้นหนึ่งของ
นิสิตคณะครุศาสตร จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัยในป พ.ศ. 2547 เรื่อง “กิ๊ก...
มากกวาเพื่อน แตไมใชแฟน” รายงานฉบับนี้กลายเปนขาวดังไปทั่วประเทศ
1 กรมวิชาการ กระทรวงศึกษาธิการ. แนวทางการจัดทํา “พจนานุกรมคําคะนอง” คูมือการศึกษาคํา
คะนอง”. พิมพครั้งที่ 1. กรุงเทพฯ: องคการคาคุรุสภา. 2543.
2 ราชบัณฑิตยสถาน. พจนานุกรมคําใหม เลม ๑ ฉบับราชบัณฑิตยสถาน. กรุงเทพฯ: แม็ค.2550.
หนา 11.
มลฤดี ลาพิมล