Page 210 - ภาษาเพศในสังคมไทย : อำนาจ สิทธิและสุขภาวะทางเพศ
P. 210
บทที่ 4 เพศวิถี: กิ๊ก 193
ขัดกับคานิยมของสังคมในเรื่องเพศ เรื่องความสัมพันธแบบผัวเดียวเมียเดียว
หรือรักเดียวใจเดียว เชน คําวา ชู เมียนอย ฯลฯ หรือคําที่แสดงถึงความสัมพันธ
ที่ไมจริงจัง เชน คําวา คูควง คูขา คูนอน
สําหรับคําวา “กิ๊ก” ถือเปนคําที่เปดมุมมองเกี่ยวกับเรื่องความสัมพันธที่
ซับซอนของคนในแงมุมใหมๆ แมวาลักษณะความสัมพันธแบบ “กิ๊ก” นี้จะเปนสิ่ง
ที่มีมานานแลวก็ตาม เพียงแตอาจจะยังไมเคยมีคําเรียกที่โดนใจคนสวนใหญ
หรือมีแตคําที่ใหความรูสึกไปในแงลบ ไมนารักเหมือนกับคําวา “กิ๊ก” มากอน
ในดานหนึ่งการไมมีคําเรียกถึงความสัมพันธในลักษณะนี้ ทําใหเมื่อเกิด
คําๆ นี้ขึ้นมา จึงไดมีความพยายามในการที่จะใหคําอธิบาย หรือใหคําจํากัดความ
กับคําๆ นี้กันไปตางๆ นาๆ ขณะเดียวกันนอกจากคนแตละคนจะตีความ
คําอธิบายตางๆ เหลานั้น โดยผานประสบการณ หรือมุมมองของตนเองแลว
ยังมีมุมมองตอรูปแบบความสัมพันธที่เรียกวา “กิ๊ก” นี้แตกตางกันไปดวย
บางคนรูสึกไมดีกับคําวากิ๊ก เพราะมองวาเปนคําที่มีความหมายเหมือนกับคําวา
“ชู” แตบางคนอาจรูสึกวาคําวา “กิ๊ก” เปนคําที่ฟงดูนารัก และชวยใหตนเอง
สามารถนิยามความสัมพันธ วางตัวในความสัมพันธกับคนตางๆ ไดชัดเจนยิ่งขึ้น
บางคนใหเหตุผลวา การมีกิ๊กเปนเรื่องของสิทธิสวนบุคคล (เพราะตนเองก็ยังไม
ไดตกลงคบใครเปนแฟน) หรือการมีกิ๊กไมไดทําใหตนเองรูสึกผิดกับแฟน หรือ
แสดงถึงการนอกใจ เพราะตนไมไดไปมีเพศสัมพันธกับกิ๊ก
สรุปวา “กิ๊ก” คือคนที่เราใสใจมากกวาเพื่อน รูสึกพิเศษเกินเพื่อน แตไมได
คิดแบบแฟน คือ ไมรูสึกพิศวาส ไมอยากมีความสัมพันธทางเพศดวย ไม
อยากอยูดวยกันจนแกเฒา ไมอยากอยูบานเดียวกัน ไมอยากนอนเตียงเดียวกัน
แตถาเห็นหนากันทุกวัน คุยกันนานๆ ก็คงดี กิ๊กคือคนที่กําลังจะมาเปนแฟน
จีบๆ กันอยูในขั้นศึกษาดูใจ ลองคบกันแตไมผูกมัดกัน ใหอิสระ และเปดโอกาส
ใหทั้งคูไปศึกษาผูอื่นไดเพื่อคนหาคนที่ใช และชอบจริงๆ ดานการแสดงออกก็ทํา
ตอคนที่คบกันเสมือนแฟน (แตไมใชแฟน) เหมือน “คูรัก” (แตหนักไปทาง
“คูควง”) คบกันแลวมีความสุขทั้งคู กลาวคือ กิ๊กเหมือนอารมณความรูสึก
อยางหนึ่ง ซึ่งทุกคนฟงแลวก็เขาใจในสถานภาพ กิ๊กมีสถานะเปนมากกวาเพื่อน
แตยังไมใชแฟน และอาจมี หรือไมมีเพศสัมพันธก็ได
มลฤดี ลาพิมล