Page 213 - ภาษาเพศในสังคมไทย : อำนาจ สิทธิและสุขภาวะทางเพศ
P. 213

196  ภาษาเพศในสังคมไทย: อํานาจ สิทธิ และสุขภาวะทางเพศ

                               กระแสหลักของสังคมไทยที่อธิบายวา ผูชายมีแรงขับทางเพศซึ่งตองการการ
                               ปลดปลอยมากกวาผูหญิง หรือยกยองผูชายที่เจาชูวามีเสนหในเรื่องเพศ
                               ขณะเดียวกันกลับคอยควบคุมใหผูหญิงตองมีเพศสัมพันธอยูภายใตกรอบ

                               การแตงงานเพื่อการมีลูกเทานั้น ทําใหนัยของคําวา “ชู” ที่นํามาใชกับชายและ
                               หญิงแตกตางกันอยางมาก โดยผูหญิงที่ “มีชู” จะถูกประณามจากสังคม

                               มากกวาผูชายที่ “เปนชู” หลายเทา
                                     คําตางๆ ที่ยกมากลาวถึงในที่นี้ อาจไมไดเปนคําที่มีนัยใกลเคียงกับ
                               คําวา “กิ๊ก” โดยตรง แตก็เปนคําที่เกี่ยวของกับระบบคิดของสังคมไทยในเรื่อง
                               รูปแบบความสัมพันธของคนในเชิงชูสาวซึ่งก็สะทอนใหเห็นวา นอกจากสังคมไทย

                               จะยอมรับ หรือมองเห็นแครูปแบบความสัมพันธในเชิงชูสาวระหวางคนตางเพศ
                               (คือชายกับหญิง) แลว ความสัมพันธที่ดียังควรตองเปนความสัมพันธที่เกิดมา
                               จากพื้นฐานของความรัก ที่จะนําไปสูการแตงงานในระบบผัวเดียวเมียเดียว

                               โดยไมมีเพศสัมพันธกอนแตงงาน และเปนความสัมพันธที่มีชวงเวลาเปน
                               ตัวแปรในการพัฒนาความสัมพันธดวย กลาวคือ ยิ่งคบกันนานเทาไรยิ่งดี
                                     อยางไรก็ตามในความเปนจริง คนในสังคมจํานวนมากไมไดมีวิถีทางเพศ
                               หรือดําเนินชีวิตไปตามกฎเกณฑความสัมพันธที่สังคมคาดหวังเสมอไป

                               หากเลือกที่จะมีวิถีชีวิตทางเพศตามความปรารถนาและความสุขแหงตนใน
                               ฐานะปจเจกบุคคล รูปแบบความสัมพันธในเชิงชูสาวของคนในสังคมจึงไมได
                               มีแตเฉพาะคนรักตางเพศซึ่งตองอยูภายใตกรอบการแตงงานแบบผัวเดียว

                               เมียเดียวเทานั้น แตยังมีคนที่รักใครชอบพอและมีเพศสัมพันธกับคนเพศเดียว
                               กัน คนที่ปฏิเสธการใชชีวิตคูภายใตกรอบของการแตงงาน คนที่พึงพอใจ
                               ที่จะมีเพศสัมพันธโดยไมตองการความรัก หรือไมตองการการแตงงาน

                               ไมตองการมีลูก ฯลฯ
                                     การปรากฏขึ้นของคําวา “กิ๊ก” ซึ่งทุกวันนี้ไมไดจํากัดอยูแตเฉพาะแวดวง
                               ของวัยรุน แตไดขยายไปสูการรับรูของสังคมในวงกวางแทบทุกระดับ แทจริงแลว

                               ไมใชการเกิดขึ้นของพฤติกรรมใหม หรือรูปแบบความสัมพันธใหมแตอยางใด
                               เพียงแตที่ผานๆ มา ไมเคยมีคํานิยาม หรือคําจํากัดความใดฟงดูเปนกลางๆ
                               และไดรับความสนใจมากเทาคําวา “กิ๊ก” เมื่อมีคํานี้เกิดขึ้นพรอมกับคําอธิบาย




                                                         มลฤดี ลาพิมล
   208   209   210   211   212   213   214   215   216   217   218