Page 182 - ภาษาเพศในสังคมไทย : อำนาจ สิทธิและสุขภาวะทางเพศ
P. 182

บทที่ 4 เพศวิถี: หญิงรักหญิง  165


                                                หญิงรักหญิง



                                                        สุไลพร ชลวิไล






                               ตัวตนทางเพศที่นิยามโดยผูหญิง


                                     “หญิงรักหญิง” หรือ “ผูหญิงที่รักผูหญิง” เปนการนําเอาคําในภาษาไทย
                               ซึ่งมีความหมายเปนที่เขาใจกันอยูแลวมาเรียงตอกันใหเกิดเปนคําใหม เพื่อ
                               สื่อถึงตัวตนทางเพศวิถีอีกแบบหนึ่งของผูหญิง คําๆ นี้มีความหมายตรงตัว

                               หมายถึง “ผูหญิงที่มีจิตใจรักใครชอบพอในผูหญิงดวยกัน โดยที่อาจจะมี
                               เพศสัมพันธ หรือไมมีเพศสัมพันธกันก็ได”
                                     “หญิงรักหญิง”เปนคําที่เกิดขึ้นพรอมกับการเปดตัวของ “กลุมอัญจารี”
                               กลุมของผูหญิงรักเพศเดียวกันที่ทํางานรณรงคใหสังคมเขาใจ ยอมรับ และ

                               ตระหนักถึงการมีตัวตนอยูในสังคม และเคารพในสิทธิของผูหญิงซึ่งเลือกที่จะ
                               รักกับผูหญิง โดยทางกลุมไดใชคําวาหญิงรักหญิงเปนคําหลักในการรณรงคใน
                               ประเด็นเรื่องสิทธิของผูหญิงที่รักเพศเดียวกันตั้งแตยุคเริ่มแรกมาจนกระทั่งถึง
                               ทุกวันนี้

                                     กลุมอัญจารีกอตั้งขึ้นเมื่อป พ.ศ. 2529 และไดเปดตัวกับสาธารณชน
                                                         1
                               อยางเปนทางการในป พ.ศ. 2536  ชื่อของกลุม “อัญจารี” เกิดจากการนําเอา

                               1   กลุมอัญจารี กอตั้งขึ้นเปนครั้งแรกโดยการรวมตัวของนักกิจกรรมดานสิทธิผูหญิง 4 คน ซึ่งทุกคน
                                 ตางก็เปนผูหญิงที่รักเพศเดียวกัน และมีมุมมองคลายกันในเรื่องสิทธิของผูหญิงรักผูหญิง โดย
                                 มองวาสังคมไทยเปนสังคมที่ยังคงมองกลุมผูหญิงที่ชอบเพศเดียวกันวาเปน ความผิดปกติ หรือ
                                 เบี่ยงเบนทางเพศ แมแตกลุมที่ทํางานเคลื่อนไหวในประเด็นผูหญิงเอง ก็ไมไดตระหนักถึงความมี
                                 ตัวตนอยูของผูหญิงที่รักเพศเดียวกัน หรือตระหนักถึงสิทธิของผูหญิงในการเลือกที่จะรัก หรือมี
                                 ความสัมพันธทางเพศกับเพศเดียวกัน ในชวง 4-5 ปแรกกลุมอัญจารีทํางานโดยมีวัตถุประสงค
                                 เนนไปที่การรณรงคสรางความเขาใจกับสังคมในเรื่องสิทธิของผูหญิงรักเพศเดียวกันเปนหลัก
                                 จนกระทั่งถึงในป พ.ศ. 2543 หลังประสบความสําเร็จในการเคลื่อนไหวคัดคานการออกกฎหามไม-


                                                        สุไลพร  ชลวิไล
   177   178   179   180   181   182   183   184   185   186   187