Page 179 - ภาษาเพศในสังคมไทย : อำนาจ สิทธิและสุขภาวะทางเพศ
P. 179

162  ภาษาเพศในสังคมไทย: อํานาจ สิทธิ และสุขภาวะทางเพศ

                                     มาเกกใสชั้นทําไม แหมคิ้วโกง อยากจะเปนผูชาย ทําเปนจะมา
                                     ขอเสียบอีก แตหันมองคิ้วดูซิ ชั้นเสียบเธอแทนดีกวานะ”
                                                                             นองเสาร

                                                                                    13
                                                              รายการวิทยุฮอตไลนสายสีรุง

                                     ในปจจุบันแมการใชคําวา “กะเทย” จะไมไดมีนัยที่แสดงถึงอคติทางเพศ

                               มากเทากับในสมัยกอน สวนหนึ่งมาจากการที่กะเทยเองก็ไดยอมรับเอาคํานี้มา
                               ใชในการแสดงความเปนตัวตนของตนเองมากขึ้น แตนั่นก็ไมไดหมายความวา
                               จะทําใหคนสวนใหญมีความเขาใจ หรือสามารถแยกแยะความแตกตางระหวาง

                               “เกย” กับ “กะเทย” ไดมากขึ้น หรือจะทําใหสังคมยอมรับ “กะเทย” มากขึ้น ใน
                               ฐานะเพศอีกเพศหนึ่งที่มีความเทาเทียมกับผูหญิง หรือผูชายแตอยางใด ดังจะ
                               เห็นไดจากการที่เกิดกรณีการเลือกปฏิบัติกับบุคคลที่เปน “กะเทย” และบุคคล

                               รักเพศเดียวกัน หลายตอหลายครั้ง ไมวาจะเปนกรณีสภาสถาบันราชภัฏมีมติ
                               ออกกฎไมใหบุคคลที่มี “ความเบี่ยงเบนทางเพศ” เขาศึกษาในสถาบันราชภัฏ
                               โดยอางความไมเหมาะสมในการไปประกอบวิชาชีพครู (ป พ.ศ. 2540) กรณี
                               กรมประชาสัมพันธขอความรวมมือผูผลิตรายการโทรทัศนกลั่นกรองการนําเสนอ

                               ภาพของ “เพศที่สาม” ในรายการ (ป พ.ศ. 2542) กรณีปลัดกระทรวงวัฒนธรรม
                               เสนอความคิดเห็นวาไมควรรับผูที่มีความเบี่ยงเบนทางเพศเขารับราชการ
                               (ป พ.ศ. 2546) หรือกรณีการเคลื่อนไหวของเครือขายความหลากหลายทางเพศ

                               กรณี สด. 43 ที่ขอใหกระทรวงมหาดไทย เปลี่ยนแปลงการใชคําในเอกสารการ
                               เกณฑทหาร ซึ่งผูที่เปนกะเทย หรือสาวประเภทสองเมื่อไปเขารับการเกณฑทหาร
                               มักจะถูกระบุไวในเอกสารวาเปนผูที่เปนโรคจิต (ป พ.ศ. 2548) และลาสุดการ
                               เคลื่อนไหวในเรื่องการเปลี่ยนแปลงคํานําหนานามของบุคคลที่เปนสาวประเภทสอง

                               ซึ่งไดรับผลกระทบอยางมากจากการที่รูปรางหนาตาและบุคลิกภาพของตนไมตรง
                               กับคํานําหนานามที่ปรากฏอยูในบัตรประชาชน และเอกสารทางราชการตางๆ
                               เปนตน



                               13  วิทยา แสงอรุณ และเพื่อน รายการวิทยุฮอตไลนสายสีรุง วันที่ 28 กรกฎาคม พ.ศ. 2550 <http://
                                 boomp3.com/m/3bb1891cdfc7>

                                                         สุไลพร  ชลวิไล
   174   175   176   177   178   179   180   181   182   183   184