Page 185 - ภาษาเพศในสังคมไทย : อำนาจ สิทธิและสุขภาวะทางเพศ
P. 185

168  ภาษาเพศในสังคมไทย: อํานาจ สิทธิ และสุขภาวะทางเพศ

                                     และเมื่อวงการแพทยและจิตวิทยาไดรับเอาองคความรูดานการแพทย
                               และจิตวิทยาจากตะวันตกเขามาในสังคมไทย ตั้งแตสมัยหลังสงครามโลกครั้งที่
                               2 เปนตนมา ก็ยิ่งสงผลใหการรักเพศเดียวกันถูกตีตราวาเปนความผิดปกติ หรือ

                               เปนความเบี่ยงเบนทางเพศ ทําใหผูที่มีตัวตนทางเพศ หรือมีพฤติกรรมทางเพศ
                               เชนนี้ ถูกอธิบายและถูกตอกย้ําวา เปนบุคคลที่วิปริต ผิดเพศ ชอบใชความ

                               รุนแรง เปนตัวอยางที่ไมดีกับเยาวชน เปนอันตรายตอสังคม ทําใหบุคคลที่เปน
                               หญิงรักหญิงไมกลาที่จะเปดเผย หรือแสดงความเปนตัวตนที่แทจริงของตนเอง
                                                                                       2
                               ทั้งกับครอบครัว และคนรอบขาง เนื่องจากกลัววาตนจะไมไดรับการยอมรับ
                                     ในปจจุบันแมวาหญิงรักหญิงไทยจะมีโอกาสเปดเผยตัวตนในหลายพื้นที่

                               มากขึ้นกวาในอดีต ซึ่งเปนผลมาจากการเขาถึงขอมูลขาวสาร และการทํางาน
                               เคลื่อนไหวในประเด็นสิทธิมนุษยชนของบุคคลรักเพศเดียวกันขององคกร
                               พัฒนาเอกชนตางๆ แตสถานการณการยอมรับหญิงรักหญิงในสังคมไทยก็

                               ยังคงไมเปลี่ยนแปลงไปจากเดิมมากเทาไรนัก หลายคนอาจเปดเผยความเปน
                               หญิงรักหญิงในชุมชนของหญิงรักหญิง หรือในกลุมเพื่อนได แตก็ยังไมกลา
                               ที่จะเปดเผยตนเองกับครอบครัวอยูดี



                               จากเลสเบี้ยน ทอม ดี้ ถึงหญิงรักหญิง: ตัวตนที่หลากหลาย?

                                     แมคําวา “หญิงรักหญิง” จะเปนที่รับรูและถูกนําไปใชในสื่อมวลชนทั่วไป

                               และในแวดวงคนทํางานในประเด็นเรื่องสิทธิของคนรักเพศเดียวกันมาเปนเวลา
                               กวา 10 ปแลวก็ตาม แตคําๆ นี้ก็ยังไมไดเปนที่แพรหลาย และเปนที่รับรูของคน


                               2   สมาคมจิตแพทยอเมริกันไดประกาศลบหัวขอ “การรักเพศเดียวกัน” ออกจากบัญชีจําแนกโรคและ
                                 อาการผิดปกติทางจิต ในป พ.ศ. 2516 และอีก 3 ปตอมาคือในป พ.ศ. 2519 สมาคมนักจิตวิทยา
                                 อเมริกันก็ไดออกมาแถลงเชนเดียวกัน ขณะที่องคการอนามัยโลกไดประกาศถอดถอนการ
                                 รักเพศเดียวกันออกจากบัญชีจําแนกโรคระหวางประเทศในป พ.ศ. 2535 สวนในประเทศไทย
                                 กรมสุขภาพจิตไดทําหนังสือตอบกลับมายังกลุมอัญจารีและเครือขายองคกรที่ทํางานรณรงคใน
                                 ประเด็นรักเพศเดียวกัน เมื่อป พ.ศ. 2545 วา กรมสุขภาพจิตไดพิจารณาตามองคการอนามัยโลก
                                 ในกรณีของการถอดถอนลักษณะความสัมพันธระหวางคนรักเพศเดียวกันออกจากกลุมคน
                                 ที่มีความผิดปกติทางจิตเชนเดียวกัน


                                                         สุไลพร  ชลวิไล
   180   181   182   183   184   185   186   187   188   189   190