Page 176 - ภาษาเพศในสังคมไทย : อำนาจ สิทธิและสุขภาวะทางเพศ
P. 176
บทที่ 4 เพศวิถี: กะเทย 159
“คําวา “สาวประเภทสอง” คิดวา เปนคําที่สุภาพสําหรับ
พวกเราแลวนะคะ ไมอยากใหปุถุชนคนธรรมดาสามัญพวก
เพศปกติในสังคม เรียกพวกเราดวยความคะนองปากวา “ไอ/อี
ตุด, กะเทย, ประเทือง ฯลฯ” อาจเปนเพราะดวยคําที่มันสั้นๆ
หวนๆ และแทงใจ (ดํา) พวกเราซะเหลือเกิน พวกเราสวนใหญ
ในนี้ถึงไมชอบใจกันนักเทาไรคะ”
12
Ivory Dec 20, 2006
แตก็ไมใชวากะเทยทุกคนจะชอบคําวา “สาวประเภทสอง” เสมอไป
บางคนตั้งคําถามวาทําไมจะตองมีคําเรียกอยางเฉพาะเจาะจงดวย โดยเฉพาะ
ผูที่ทํางานในเรื่องสิทธิมนุษยชนในประเด็นที่เกี่ยวกับเรื่องเพศจะมองวา
“สาวประเภทสอง” เปนคําที่ใหความรูสึกของความไมเทาเทียม เพราะถูกแบงเปน
“ประเภทที่ 2” และใหความสําคัญแตเฉพาะกับคนที่มองตนเองเปนผูหญิง และ
ตองการจะแปลงเพศเทานั้น โดยไมไดคํานึงถึงความเปนกะเทยซึ่งมีความ
หลากหลาย กะเทยหลายคนไมไดตองการที่จะแปลงเพศ หรือมองวาตนเอง
เปนผูหญิง พวกเธอจึงนิยามตนเองดวยคําวา “ทีจี” หรือ “ทรานสเจนเดอร”
(ทับศัพทมาจากคําวา Transgender ในภาษาอังกฤษ) แทนที่จะนิยามตนเองดวย
คําวา “สาวประเภทสอง” นอกจากนี้ก็ยังมีคําวา “เลดี้บอย” ที่สาวประเภทสอง
นิยามตนเอง เมื่อพูดกับชาวตางชาติ คําๆ นี้สันนิษฐานวาเริ่มตนใชในแวดวง
การแสดงคาบาเรตโชวของสาวประเภทสอง ขณะเดียวกันคําวา “กะเทย” ใน
ภาษาไทยก็ไดถูกนําไปอางถึงในหลายงานวิชาการดานเพศวิถีของนักวิชาการ
ตางชาติ ในฐานะคําศัพทเฉพาะ “Katoey” ที่แสดงถึงอัตลักษณทางเพศภาวะ
แบบหนึ่งของสังคมไทยดวย
คําศัพทใหมที่เกี่ยวของกับการนิยามความเปนกะเทยอีกคําหนึ่งคือคําวา
“ผูหญิงขามเพศ” โดยเมื่อไมนานมานี้ในการเคลื่อนไหวทางสังคมเพื่อแกไข
12 papillon “หากจะมีการบัญญัติศัพทเพื่อใชเรียก transgender อยางพวกเรา” โพสตเมื่อ 20
ธันวาคม 2549 <http://www.thailadyboyz.net/webboard/viewtopic.php?t=4712&highlight=%
BB%C3%D0%E0%B7%D7%CD%A7>
สุไลพร ชลวิไล