Page 171 - ภาษาเพศในสังคมไทย : อำนาจ สิทธิและสุขภาวะทางเพศ
P. 171
154 ภาษาเพศในสังคมไทย: อํานาจ สิทธิ และสุขภาวะทางเพศ
บุคลิก อากัปกิริยาทาทาง การแสดงออกเปนชาย เปนหญิง หรือไมเปนชายไม
เปนหญิง) หรือตัวตนทางเพศวิถี (การมีความรัก มีรสนิยมทางเพศ มีความ
ปรารถนาที่จะมีเพศสัมพันธกับเพศเดียวกัน หรือกับเพศตรงขาม)
นอกจากนี้การใชคําวา “เกย” กับ “กะเทย” ในความหมายที่ทับซอนกัน
ในสมัยกอน ยังอาจแสดงถึงการแบงแยกชนชั้นภายในกลุมชายที่รักเพศเดียวกัน
ดวย เนื่องจากคําวา “เกย” เปนคําใหม และเปนคําที่ทับศัพทมาจากคําใน
ภาษาอังกฤษ หมายถึง “ผูชายที่มีรสนิยมรักใครในเพศเดียวกัน แตไมไดมี
ความปรารถนาที่จะแสดงออก หรือมีจิตใจเปนผูหญิง” ทําใหความเปนเกย
ถูกมองวาเปนเรื่องของการรับเอาคานิยมและวัฒนธรรมทางเพศแบบตะวันตก
เขามาในสังคมไทย และเปนคานิยมของคนในชนชั้นที่ไดรับการศึกษาจาก
ตะวันตก หรือคนที่สัมผัสคลุกคลีอยูกับชาวตะวันตกเทานั้น ขณะที่ “กะเทย”
เปนคําที่ใชกันอยางแพรหลายทั่วไปในทุกชนชั้น
หลังป พ.ศ. 2510 เปนตนมา สังคมไทยไดรูจักกับคําภาษาอังกฤษ ที่
สะทอนใหเห็นถึงรสนิยม และตัวตนทางเพศวิถีของบุคคลรักเพศเดียวกันมาก
6
ขึ้น โดยเฉพาะคําวา “เกย” และคําวา “ทอม” ทําใหคําทั้งสองคํานี้ไดเขามา
แทนที่คําวา “กะเทย” ในกรณีที่ใชเรียกผูชาย และผูหญิงรักเพศเดียวกันมากขึ้น
เมื่อมารวมเขากับการที่สื่อมวลชนไทยพากันนําเสนอเรื่องราวของผูชายที่เปน
กะเทยทั้งในแงบวกและแงลบ การปรากฏตัวของ “กะเทย” ในพื้นที่สาธารณะ
ภาพลักษณของความเปนกะเทยที่ถูกนําเสนอเชื่อมโยงกับความเปนผูเชี่ยวชาญ
ในงานบางสาขาอาชีพ เชน อาชีพนักแสดงคาบาเรตโชว อาชีพเกี่ยวกับความสวย
ความงาม นักรองนักแสดง รวมไปถึงการเคลื่อนไหวเรื่องสิทธิของบุคคล
รักเพศเดียวกัน และโดยเฉพาะอยางยิ่งการที่บุคคลซึ่งเปน “กะเทย” เองไดออกมา
6 คําวา “เกย” ถูกนํามาใชเปนคําทับศัพท “Gay“ ในภาษาอังกฤษ และถูกนํามาใชในความหมาย
เดียวกันกับที่ใชในสังคมตะวันตก หมายถึงผูชายที่มีรสนิยมทางเพศชอบเพศเดียวกัน ในขณะที่คําวา
“ทอม” ก็เปนคําที่ยอมาจากคําวา “Tomboy” ในภาษาอังกฤษ แตใชในความหมายที่แตกตางกัน
อยางสิ้นเชิง โดยในภาษาอังกฤษคําวา Tomboy หมายถึง เด็กผูหญิงที่มีลักษณะทาทางซนๆ คลายกับ
เด็กผูชาย ในขณะที่คําวา “ทอม” ในภาษาไทย หมายถึง ผูหญิงรักเพศเดียวกันที่แตงตัวเปนผูชาย
หรือแสดงกิริยาทาทางแบบผูชาย และมีความปรารถนาทางเพศกับผูหญิงดวยกันที่มีความเปน
ผูหญิงมากกวา.
สุไลพร ชลวิไล